กรอบกลยุทธ์โรงเรียนสตรีวัดระฆัง

กรอบกลยุทธ์การพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา โรงเรียนสตรีวัดระฆัง

ปีงบประมาณ ๒๕๕๙ - ๒๕๖๑

ประเด็นยุทธศาสตร์หรือด้านผู้เรียน / ผู้รับบริการ :  พัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียนสตรีวัดระฆัง

 

 

-๒-

 

 

 

-๓-

 

 

-๔-

 

 

 

 

 

-๕-

 

 

-๖-

 

 

 

 

 

-๗-

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

                             

 

 

-๘-

 

ด้านกระบวนการบริหารจัดการ:  พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือและระบบบริหารการจัดการด้วยระบบคุณภาพ

 

 

 

 

-๙-

 

 

 

 

-๑๐-

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

-๑๑-

 

๓. ด้านครูและปัจจัยพื้นฐานสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน: พัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิภาพเทียบเคียงมาตรฐานสากล

-๔-

-๑๒-

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

-๑๓-

 

๔. ด้านงบประมาณ/รายได้/ความมั่นคงในวิชาชีพครู :  พัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

-๑-

 

โครงการและกิจกรรมตามกลยุทธ์ระดับองค์กร

 

          การกำหนดชื่อโครงการ/กิจกรรม จะต้องสอดคล้องกับกลยุทธ์ที่กำหนดไว้ ชื่อโครงการ/กิจกรรมที่ครอบคลุม  กลยุทธ์นั้น ๆ และเป็นรูปธรรมสามารถนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ

การกำหนดชื่อโครงการ/กิจกรรมตามกลยุทธ์ระดับองค์กร

กลยุทธ์ที่ ๑

 

 

 

 

 

 

 

-๒-

 

 

 

-๓-

-๔-

 

 

 

 

 

 

 

 

 

-๕-

 

-๖-

 

 

-๗-

 

 

 

 

-๘-

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

บทที่ ๖

การกำกับ ติดตาม ประเมินผลและรายงาน

 

โรงเรียนสตรีวัดระฆัง ได้กำหนดแนวทางการกำกับ ติดตาม ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๙ ดังนี้

๖.๑  กำหนดตัวแปรที่จะศึกษา

    ๖.๑.๑  จำนวนงาน / โครงการ

    ๖.๑.๒  ทรัพยากรในการดำเนินงาน ได้แก่ งบประมาณ  บุคลากร และสิ่งอำนวยความสะดวก

    ๖.๑.๓  ผลการดำเนินงาน ได้แก่ ผลงาน / ผลสัมฤทธิ์ของโครงการ ปัญหา – อุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ๖.๑.๔  ผลกระทบ  ได้แก่ ความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้องที่มีต่องาน / โครงการ

๖.๒  กลุ่มตัวอย่าง

    ๖.๒.๑  คณะกรรมการดำเนินงาน / โครงการ ได้แก่ ผู้บริหาร หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ หัวหน้าโครงการหรือผู้รับผิดชอบโครงการ

    ๖.๒.๒  ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับงาน / โครงการ ได้แก่ ผู้บริหาร ครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน

๖.๓  เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

    ๖.๓.๑  แบบสอบถามความคิดเห็น / ความพึงพอใจที่มีต่องาน / โครงการ

    ๖.๓.๒  แบบประเมินผลงาน / โครงการ

    ๖.๓.๓  การสังเกตและการสัมภาษณ์ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

๖.๔  แหล่งข้อมูล

    ๖.๔.๑  แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๙

    ๖.๔.๒  รายงานการประเมินงาน / โครงการของโรงเรียน

๖.๕  การเก็บรวบรวมข้อมูล

    ๖.๕.๑  ผู้รับผิดชอบงาน / โครงการ สร้างแบบสอบถามความคิดเห็น / ความพึงพอใจที่มีต่อการดำเนินงาน / โครงการ

    ๖.๕.๒  ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับงาน / โครงการตอบแบบสอบถามดังกล่าว

๖.๖  การวิเคราะห์ข้อมูล โดยนำข้อมูลที่ได้รวบรวมมาวิเคราะห์ ดังนี้

    ๖.๖.๑  จำนวนงาน / โครงการ ที่จำแนกตามกลุ่มบริหาร / กลุ่มสาระการเรียนรู้ / งาน ตามกลยุทธ์ของโรงเรียนเป็นค่าร้อยละ

    ๖.๖.๒  ความพร้อมของทรัพยากรด้านการดำเนินงาน โดยวิเคราะห์ยอดรายจ่ายจัดสรรตามงาน / โครงการ จำแนกตามโครงสร้างการบริหารของโรงเรียน และทรัพยากรด้านการเงินที่จ่ายจริงเมื่อเปรียบเทียบที่ได้รับจำแนกตามกลุ่มบริหารเป็นค่าร้อยละ

    ๖.๖.๓  ผลการดำเนินงาน ได้แก่ ผลงาน ปัญหา-อุปสรรคและข้อเสนอแนะเป็นความเรียง

    ๖.๖.๔  ผลสัมฤทธิ์ของงาน / โครงการ และหรือความพึงพอใจที่มีต่องาน / โครงการเป็นค่าร้อยละ