การพัฒนางานที่เสนอเป็นประเด็นท้าทายปีงบประมาณ 2565


การจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารทางคณิตศาสตร์ โดยใช้ Discord เรื่อง เวกเตอร์ในสามมิติ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5

1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน

  • การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

  • นักเรียนขาดการสื่อสาร

  • การหาห้องเรียนออนไลน์ที่เหมาะสม

2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล

3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง

เชิงปริมาณ

1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ร้อยละ 60 มีผลคะแนนการทดสอบผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (Summative : ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม)

2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ร้อยละ 60 มีทักษะการสื่อสารสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด (Formative : ร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม)

เชิงคุณภาพ

1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีความพึงพอใจในกิจกรรมการเรียนการสอนของครูอยู่ในระดับมากขึ้นไป (ค่าเฉลี่ย 3.5 ขึ้นไป)

2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่เรียนในรายวิชา คณิตศาสตร์เสริมเข้ม 4 (ค32204) และ คณิตศาสตร์เสริมเข้ม 3 (ค32203) มีระดับคุณภาพผู้เรียนเป็นไปตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด

3) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีพื้นฐานความรู้ที่จะนำไปศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น หรือเชื่อมโยงกับชีวิตประจำวัน สำหรับใช้ในการตัดสินใจสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องได้