รายงานผลการปฏิบัติงาน
ครูรัฐศาสตร์ พิพัฒน์ณัฐพงศ์
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ข้อมูลผู้ประเมิน
ข้อมูลทั่วไป
ชื่อ - สกุล นายรัฐศาสตร์ พิพัฒน์ณัฐพงศ์
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย
โรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานนทบุรี
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน (คลิกเพื่อดูรายละเอียด)
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ (คลิกเพื่อดูรายละเอียด)
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา (คลิกเพื่อดูรายละเอียด)
→ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567 รวมทั้งหมด จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ ←
» งานตรวจการบ้านงานที่ปรึกษางานโฮมรูม จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
» งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
→ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566 รวมทั้งหมด จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ ←
» งานตรวจการบ้านงานที่ปรึกษางานโฮมรูม จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
» งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
→ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 รวมทั้งหมด จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ ←
» งานตรวจการบ้านงานที่ปรึกษางานโฮมรูม จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
» งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
→ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 รวมทั้งหมด จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ ←
» งานตรวจการบ้านงานที่ปรึกษางานโฮมรูม จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
» งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
→ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 รวมทั้งหมด จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ ←
» งานตรวจการบ้านงานที่ปรึกษางานโฮมรูม จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
» งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
→ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 รวมทั้งหมด จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ ←
» งานตรวจการบ้านงานที่ปรึกษางานโฮมรูม จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
» งานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนของผู้จัดทำข้อตกลงซึ่งปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชำนาญการ ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง คือ การปรับประยุกต์ การจัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังที่สูงกว่าได้)
ประเด็นท้าทาย เรื่อง การพัฒนาทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2566
1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน (คลิกเพื่อดูรายละเอียด)
จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในวิชาภาษาไทย ท23101 พบว่า นักเรียนส่วนหนึ่งมีทักษะด้านการเขียนอยู่ในระดับควรปรับปรุง ทำให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ในการเรียนต่ำกว่าที่ควร เพราะผู้เรียนขาดทักษะต่าง ๆ ที่จำเป็นต่อการเขียน เช่น การเลือกใช้ถ้อยคำ สำนวน การเรียบเรียงประโยค การลำดับเนื้อความให้สละสลวย เป็นต้น
ครูผู้สอนจึงจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานประเด็นท้าท้าย โดยการพัฒนาความรู้ทางภาษาไทยในการพัฒนาแบบฝึกทักษะการเขียนเชิงสร้างสรรค์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ขึ้นเพื่อพัฒนาความสามารถในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีปัญหาในการเขียนเชิงสร้างสรรค์ให้สามารถพัฒนาทักษะการเขียนของตนเองได้อย่างสร้างสรรค์
2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล (คลิกเพื่อดูรายละเอียด)
• 2.1 วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุงพุทธศักราช 2561) และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ หอวัง นนทบุรี ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2561 ในเรื่องของ มาตรฐานการเรียน และตัวชี้วัด ของเนื้อหา เรื่อง การเขียน
• 2.2 จัดทำโครงร่างของเนื้อหาแบบฝึกภาษาไทย เรื่อง การเขียนเชิงสร้างสรรค์ โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วน ๆ พร้อมเฉลยตัวอย่าง กิจกรรม และแบบฝึกหัด
• 2.3 ให้คุณครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง ในเนื้อหา การเฉลยของตัวอย่าง กิจกรรม และแบบฝึกหัด พร้อมทั้งเสนอแนะ เพื่อปรับปรุง แก้ไข
• 2.4 ครูผู้สอนนำชุดแบบฝึกมาปรับปรุง แก้ไขตามคำแนะนำของคณะครูในกลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทยโรงเรียนนวมินทราชินูทิศ สวนกุหลาบวิทยาลัย สมุทรปราการ
• 2.5 นำชุดการเรียนไปทดลองใช้กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เรื่อง การเขียน เชิงสร้างสรรค์ และให้นักเรียนเสนอแนะข้อคิดเห็น เพื่อปรับปรุง แก้ไข หรือนักเรียนมีความสับสนในข้อความใด ให้นำมาดำเนินการปรับปรุง พัฒนาให้เข้าใจง่ายเหมาะสมกับนักเรียน
• 2.6 นำเอกสารแบบฝึกการเรียนภาษาไทย เรื่อง การเขียนเชิงสร้างสรรค์ รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท23102 ไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ทั้งในรูปแบบ ONLINE หรือ ONSITE โดยปรับกิจกรรมให้เหมาะสมกับบริบท
• 2.7 บันทึกผลการเรียนรู้ของ Google Sheet และสะท้อนผลการเรียนรู้ให้นักเรียนทราบอย่างเป็นปัจจุบัน หากมีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินในเรื่องใด ให้นักเรียนไปพัฒนารายจุดประสงค์นั้นและการสอนซ่อมเสริมกรณีนักเรียนยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด สำหรับใช้แก้ไขปัญหาการเรียนรู้ให้นักเรียนได้ศึกษาและทำการทดสอบใหม่จนกว่านักเรียนจะมีผลการเรียนรู้ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง (คลิกเพื่อดูรายละเอียด)
» 3.1 เชิงปริมาณ
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3, 3/6, 3/6 และ 3/9 ร้อยละ 100 ผ่านเกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยทุกตัวชี้วัด
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3, 3/6, 3/6 และ 3/9 ร้อยละ 80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยตามเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนด
3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3, 3/6, 3/6 และ 3/9 ร้อยละ 80 มีพัฒนาการด้านความรู้ทางภาษาไทย เรื่อง การเขียนเชิงสร้างสรรค์ดีขึ้น
» 3.2 เชิงคุณภาพ
1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3, 3/6, 3/6 และ 3/9 ร้อยละ 100 ผ่านเกณฑ์การประเมินตัวชี้วัดในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยทุกตัวชี้วัด
2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3, 3/6, 3/6 และ 3/9 ร้อยละ 80 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยตามเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนด
3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3, 3/6, 3/6 และ 3/9 ร้อยละ 80 มีพัฒนาการด้านความรู้ทางภาษาไทย เรื่อง การเขียนเชิงสร้างสรรค์ดีขึ้น
วีดิทัศน์ตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา
รายงานผลการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2/2566 ครูรัฐศาสตร์ พิพัฒน์ณัฐพงศ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
รายงานผลการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2/2565 ครูรัฐศาสตร์ พิพัฒน์ณัฐพงศ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
วิดีทัศน์บันทึกการสอน
วิดีทัศน์บันทึกการสอน ครูรัฐศาสตร์ พิพัฒน์ณัฐพงศ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ประมวลภาพกิจกรรม