"การทำไม้กวาดก้านมะพร้าว"

นายบรรจง   รุ่งกิจเกียรติคุณ

ชุดข้อมูลคลังปัญญาผู้สูงอายุตำบลนาหูกวาง  อำเภทับสะแก   จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์

ชื่อภูมิปัญญา :  นางคำพัน   ทองมาก

รหัสภูมิปัญญา:  1277030003-001

สาขาคลังปัญญา (23 สาขา):   ด้าน อุตสาหกรรมและหัตถกรรม

สาขาของภูมิปัญญาท้องถิ่น   (10 สาขา) :   สาขาอุตสาหกรรมและหัตถกรรม

ข้อมูลพื้นฐาน รายบุคคล เจ้าของภูมิปัญญาท้องถิ่น/บุคคลคลังปัญญา 

วันเดือนปีเกิด  2 มกราคม  2513

ที่อยู่ปัจจุบัน (ที่สามารถติดต่อได้) :  บ้านเลขที่ 190 หมู่ที่  3 ตำบลนาหูกวาง  อำเภทับสะแก   จังหวัดประจวบคีรีขันธ์  รหัสไปรษณีย์  77130

โทรศัพท์  086-1659361

ความเป็นมาของบุคคลคลังปัญญา

          ภูมิปัญญาท้องถิ่น หรือภูมิปัญญาชาวบ้านหมายถึง ทุกสิ่งทุกอย่างที่ชาวบ้านคิดขึ้นได้เองและนำมาใช้ในการแก้ปัญหา เป็นเทคนิควิธีเป็นองค์ความรู้ของชาวบ้าน ทั้งทางกว้างและทางลึกที่ชาวบ้านคิดเอง ทำเอง โดยอาศัยศักยภาพที่มีอยู่แก้ปัญหาการด าเนินชีวิตในท้องถิ่นได้อย่างเหมาะสมกับยุคสมัยความเหมือนกันของภูมิปัญญาไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ เป็นองค์ความรู้ และเทคนิคที่นำมาใช้ในการแก้ปัญหาและการตัดสินใจ ซึ่งได้สืบทอดและเชื่อมโยงมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ซึ่งนางคำพัน   ทองมาก เป็นบุคคลหนึ่งซึ่วมีความรู้ความสามารถการทำไม้กวาดก้านมะพร้าวโดยใช้วัสดุท้องถิ่น

จุดเด่นของภูมิปัญญาท้องถิ่น

          ไม้กวาดทางมะพร้าว คือ ไม้กวาดที่ทำได้จากก้านใบย่อยของทางมะพร้าว โดยตัดก้านใบย่อยตรงโคนก้านออกจากทางมะพร้าว จากนั้น นำใบมะพร้าวมากรีดแยกแผ่นใบทั้งสองข้างออก ก่อนนำไปตากแดดให้แห้ง จากนั้น ตัดโคนก้านให้เสมอกัน ก่อนนำมามัดติดเป็นแผงกับด้ามไม้ไผ่    ไม้กวาดทางมะพร้าว เป็นวัสดุทำความสะอาดที่ประดิษฐ์ได้ภายในครัวเรือน นิยมใช้สำหรับกวาดทำความสะอาดลานบ้าน ลานหญ้า สำหรับกวาดเศษดิน ก้อนดิน หิน ทราย เศษใบไม้หรือ เศษมูลฝอยที่มีขนาดค่อนข้างใหญ่ให้กองรวมกัน ก่อนนำไปกำจัด แต่ไม่สามารถกวาดทำความสะอาดฝุ่นขนาดเล็กได้ ทางมะพร้าวที่ใช้ทำไม้กวาดทางมะพร้าว นิยมใช้พันธุ์พื้นเมือง เพราะใบย่อยมีขนาดใหญ่ และยาว เมื่อนำมากรีดแผ่นใบออกจะได้ก้านใบที่มีขนาดใหญ่ และยาวกว่าก้านใบของมะพร้าวพันธุ์การค้าอื่นๆ

วัตถุดิบที่ใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากภูมิปัญญา ซึ่งพื้นที่อื่นไม่มี ได้แก่ :   ก้านมะพร้าว จะหาง่ายในอำเภอทับสะแก

รายละเอียดของภูมิปัญญาท้องถิ่น  :    ใช้วัสดุในท้องถิ่นมาทำไม้กวาด

รูปแบบและลักษณะการถ่ายทอด การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น 

         เคยเผยแพร่เฉพาะในชุมชน  / มีการนำไปใช้                 

ลักษณะของภูมิปัญญาท้องถิ่น การพัฒนาต่อยอดภูมิปัญญาให้เป็นนวัตกรรม คุณค่า (มูลค่า) และ ความภาคภูมิใจ

         ภูมิปัญญาท้องถิ่นดั้งเดิมได้รับการถ่ายทอดมาจาก

ชื่อ – สกุลผู้บันทึกข้อมูล นางสาวพรพิมล  เยาวมาลย์  เบอร์ติดต่อ/Line ID toomtamnang

หน่วยงาน/ สถานศึกษา.สกร.อำเภอทับสะแก วันที่บันทึกข้อมูล   7 พฤศจิกายน 2566

สถานที่ ที่ตั้ง (พิกัด) ของแหล่งท่องเที่ยว วัดบ้านทุ่งเคล็ด