IIT

แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน (Internal Integrity and Transparency Assessment: IIT)

มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระดับการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในที่มีต่อหน่วยงานตนเอง ประกอบด้วยตัวชี้วัดการปฏิบัติหน้าที่ ตัวชี้วัดการใช้งบประมาณ ตัวชี้วัดการใช้อานาจ ตัวช้ีวัดการใช้ทรัพย์สินของ ราชการ และตัวชี้วัดการแก้ไขปัญหาการทุจริต

ตัวชี้วัดที่ 1 การปฏิบัติหน้าที่ ประกอบด้วยข้อคาถามจานวน 6 ข้อ ดังต่อไปนี้

i1 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน ปฏิบัติงาน/ให้บริการแก่ ผู้มาติดต่อ ตามประเด็นดังต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด

i2 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน ปฏิบัติงาน/ให้บริการแก่ ผู้มาติดต่อทั่ว ๆ ไป กับผู้มาตดิ ต่อที่รู้จักเป็นการส่วนตัว อย่างเท่าเทียมกัน มากน้อยเพียงใด

i3 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน มีพฤติกรรมในการ ปฏิบัติงาน ตามประเด็นดังต่อไปนี้ อย่างไร

i4 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน มีการเรียกรับสิ่งดังต่อไปนี้ จากผู้มาติดต่อ เพื่อแลกกับการปฏิบัติงาน การอนุมัติ อนุญาต หรือให้บริการ หรือไม่

i5 ในช่วงเทศกาลหรือวาระสาคัญต่าง ๆ ตามขนบธรรมเนียม ประเพณี บุคลากร ในหน่วยงานของท่าน มีการรับสิ่งดังต่อไปนี้ นอกเหนือจากการรับโดยธรรมจรรยา หรือไม่

i6 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน มีการให้สิ่งดังต่อไปนี้ แก่บุคคลภายนอกหรือ ภาคเอกชน เพื่อสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและคาดหวังให้มีการตอบแทนในอนาคต หรือไม่

ตัวชี้วัดที่ 2 การใช้งบประมาณ

เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของบุคลากรภายใน หน่วยงานต่อการดาเนินการต่าง ๆ ของหน่วยงานของตนเอง ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการใช้จ่ายเงินงบประมาณ นับตั้งแต่การจัดทาแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจาปีและเผยแพร่อย่างโปร่งใส ไปจนถึงลักษณะการใช้จ่าย งบประมาณของหน่วยงานอย่างคุ้มค่า เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และไม่เอื้อประโยชน์แก่ตนเองหรือพวกพ้อง การเบิกจ่ายเงินของบุคลากรภายในในเรื่องต่าง ๆ เช่น ค่าทางานล่วงเวลา ค่าวัสดุอุปกรณ์ หรือค่าเดินทาง ฯลฯ ตลอดจนกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างและการตรวจรับพัสดุด้วย นอกจากนี้ ยังให้ความสาคัญกับการเปิดโอกาส ให้บุคลากรภายในมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานตนเองได้ ประกอบด้วยข้อคาถามจานวน 6 ข้อ ดังต่อไปนี้

i7 ท่านรู้เกี่ยวกับแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจาปี ของหน่วยงานของท่าน มากน้อยเพียงใด

i8 ห น่วยงานของท่า น ใช ้จ่ายงบ ประมาณ โดยค า นึงถึง ประเด็นดังต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด

 คุ้มค่า

 ไม่บิดเบือนวัตถุประสงค์ของงบประมาณที่ตั้งไว้

i9 หน่วยงานของท่าน ใช้จ่ายงบประมาณเพื่อประโยชน์ ส่วนตัว กลุ่ม หรือพวกพ้อง มากน้อยเพียงใด

i10 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน มีการเบิกจ่ายเงิน ที่เป็นเท็จ เช่น ค่าทางานล่วงเวลา ค่าวัสดุอุปกรณ์ หรือค่าเดินทาง ฯลฯ มากน้อยเพียงใด

i11 หน่วยงานของท่าน มีการจัดซื้อจัดจ้าง/การจัดหาพัสดุ และการตรวจรับพัสดุในลักษณะดังต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด

โปร่งใส ตรวจสอบได้

 เอื้อประโยชน์ให้ผู้ประกอบการรายใดรายหนึ่ง

i12 หน่วยงานของท่าน เปิดโอกาสให้ท่าน มีส่วนร่วม ในการตรวจสอบการใช้จ่ายงบประมาณ ตามประเด็น ดังต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด

 สอบถาม

 ทักท้วง

 ร้องเรียน

ตัวชี้วัดที่ 3 การใช้อานาจ

เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของบุคลากรภายใน หน่วยงานต่อการใช้อานาจของผู้บังคับบัญชาของตนเอง ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการมอบหมายงาน การประเมินผลการปฏิบัติงาน การคัดเลือกบุคลากรเพื่อให้สิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ซึ่งจะต้องเป็นไปอย่างเป็นธรรม และไม่เลือกปฏิบัติ รวมไปถึงการใช้อานาจสั่งการให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทาในธุระส่วนตัวของผู้บังคับบัญชาหรือ ทาในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง นอกจากนี้ ยังประเมินเกี่ยวกับกระบวนการบริหารงานบุคคลที่อาจเกิดการแทรกแซงจากผู้มี อานาจ การซื้อขายตาแหน่ง หรือการเอื้อผลประโยชน์ให้กลุ่มหรือพวกพ้อง ด้วยข้อคาถามจานวน 6 ข้อ ดังต่อไปนี้

i13 ผู้บังคับบัญชาของท่าน มอบหมายงานแก่ท่าน อย่างเป็นธรรม มากน้อยเพียงใด

i14 ท่านได้รับการประเมินผลการปฏิบัติงาน ตามระดับ คุณภาพของผลงาน มากน้อยเพียงใด

i15 ผู้บังคับบัญชาของท่าน มีการคัดเลือกผู้เข้ารับการ ฝึกอบรม การศึกษาดูงาน หรือการให้ทุนการศึกษา อย่างเป็นธรรม มากน้อยเพียงใด

i16 ผู้บังคับบัญชาของท่าน มีการสั่งการให้ท่านทาธุระ ส่วนตัวของผู้บังคับบัญชา มากน้อยเพียงใด

i17 ผู้บังคับบัญชาของท่าน มีการสั่งการให้ท่านทาในสิ่ง ท่ีไม่ถูกต้อง หรือมีความเสี่ยงต่อการทุจริต มากน้อยเพียงใด

i18 การบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของท่าน มีลักษณะดังต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด

 ถูกแทรกแซงจากผู้มีอานาจ

 มีการซื้อขายตาแหน่ง

 เอื้อประโยชน์ให้กลุ่มหรือพวกพ้อง

ตัวชี้วัดที่ 4 การใช้ทรัพย์สินของราชการ

เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของบุคลากร ภายในหน่วยงานต่อการใช้ทรัพย์สินของราชการ ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของบุคลากรภายใน ในการ นาทรัพย์สินของราชการของหน่วยงานไปเป็นของตนเองหรือนาไปให้ผู้อื่น และพฤติกรรมในการขอยืมทรัพย์สิน ของราชการ ทั้งการยืมโดยบุคลากรภายในหน่วยงานและการยืมโดยบุคคลภายนอกหน่วยงาน ซึ่งหน่วยงาน จะต้องมีกระบวนการในการขออนุญาตที่ชัดเจนและสะดวก นอกจากนี้ หน่วยงานจะต้องมีการจัดทาแนวทางปฏิบัติ เกี่ยวกับการใช้ทรัพย์สินของราชการที่ถูกต้อง เพื่อเผยแพร่ให้บุคลากรภายในได้รับทราบและนาไปปฏิบัติ รวมไปถึง หน่วยงานจะต้องมีการกากับดูแลและตรวจสอบการใช้ทรัพย์สินของราชการของหน่วยงานด้วย ประกอบด้วยข้อคาถามจานวน 6 ข้อ ดังต่อไปนี้

i19 บุคลากรในหน่วยงานของท่าน มีการเอาทรัพย์สินของ ราชการ ไปเป็นของส่วนตัว หรือนาไปให้กลุ่มหรือพวกพ้อง มากน้อยเพียงใด

i20 ขั้นตอนการขออนุญาตเพื่อยืมทรัพย์สินของราชการ ไปใช้ปฏิบัติงานในหน่วยงานของท่าน มีความสะดวกมาก น้อยเพียงใด

i21 กรณีที่ต้องมีการขอยืมทรัพย์สินของราชการ ไปใช้ปฏิบัติงาน บุคลากรในหน่วยงานของท่าน มีการขออนุญาตอย่างถูกต้อง มากน้อยเพียงใด

i22 บุคคลภายนอกหรือภาคเอกชน มีการนาทรัพย์สิน ของราชการไปใช้ โดยไม่ได้ขออนุญาตอย่างถูกต้อง จากหน่วยงานของท่าน มากน้อยเพียงใด

i23 ท่านรู้แนวปฏิบัติของหน่วยงานของท่าน เกี่ยวกับการ ใช้ทรัพย์สินของราชการที่ถูกต้อง มากน้อยเพียงใด

i24 หน่วยงานของท่าน มีการกากับดูแลและตรวจสอบการ ใช้ทรัพย์สินของราชการ เพื่อป้องกันไม่ให้มีการนาไปใช้ ประโยชน์ส่วนตัว กลุ่ม หรือพวกพ้อง มากน้อยเพียงใด

ตัวชี้วัดที่ 5 การแก้ไขปัญหาการทุจริต

เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของบุคลากร ภายในหน่วยงานต่อการแก้ไขปัญหาการทุจริตของหน่วยงาน ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการให้ความสาคัญ ของผู้บริหารสูงสุดในการต่อต้านการทุจริตอย่างจริงจัง โดยหน่วยงานจะต้องทบทวนนโยบายที่เกี่ยวข้องกับการ ป้องกันการทุจริตในหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ และจัดทาแผนงานด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ของหน่วยงาน เพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาการทุจริตได้อย่างเป็นรูปธรรม รวมไปถึงการประเมินเกี่ยวกับ ประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาการทุจริตของหน่วยงาน ที่จะต้องทาให้การทุจริตในหน่วยงานลดลงหรือไม่มีเลย และจะต้องสร้างความเชื่อมั่นให้บุคลากรภายใน ในการร้องเรียนเมื่อพบเห็นการทุจริตภายในหน่วยงานด้วย นอกจากนี้ หน่วยงานจะต้องมีกระบวนการเฝ้าระวัง ตรวจสอบการทุจริตภายในหน่วยงาน รวมถึงการนาผลการ ตรวจสอบของฝ่ายตรวจสอบ จากทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน ไปปรับปรุงการทางาน เพื่อป้องกันการทุจริต ประกอบด้วยข้อคาถามจานวน 6 ข้อ ดังต่อไปนี้

i25 ผู้บริหารสูงสุดของหน่วยงานของท่าน ให้ความสาคัญ กับการต่อต้านการทุจริต มากน้อยเพียงใด

i26 หน่วยงานของท่าน มีการดำเนินการ ดังต่อไปนี้ หรือไม่

 ทบทวนนโยบายหรือมาตรการป้องกันการทุจริตในหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ

 จัดทำแผนงานด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของหน่วยงาน

i27 ปัญหาการทุจริตในหน่วยงานของท่าน ได้รับการแก้ไข มากน้อยเพียงใด

หมายเหตุ: หากท่านเห็นว่าหน่วยงานของท่านไม่มีปัญหาการทุจริตให้ตอบ “มากที่สุด”

i28 หน่วยงานของท่าน มีการดาเนินการดังต่อไปนี้ ต่อการทุจริตในหน่วยงาน มากน้อยเพียงใด

 เผ้าระวังการทุจริต

 ตรวจสอบการทุจริต

 ลงโทษทางวินัย

หมายเหตุ: หากหน่วยงานของท่านไม่มีการทุจริต จึงทำให้ไม่มีการลงโทษทางวินัย ให้ตอบ "มากท่ีสุด"

i29 หน่วยงานของท่าน มีการนาผลการตรวจสอบ ของฝ่ายตรวจสอบ ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน ไปปรับปรุงการทางาน เพื่อป้องกันการทุจริต ในหน่วยงาน มากน้อยเพียงใด

หมายเหตุ:

  • ฝ่ายตรวจสอบภายใน หมายถึง ส่วนงานตรวจสอบภายในของหน่วยงาน
  • ฝ่ายตรวจสอบภายนอก หมายถึง หน่วยงานที่มีอานาจหน้าที่ตรวจสอบการดา เนินงานของหน่วยงานภาครัฐ เช่น สานักงานการ ตรวจเงินแผ่นดิน (สตง.) เป็นต้น

i30 หากท่านพบเห็นแนวโน้มการทุจริตที่จะเกิดขึ้น ในหน่วยงานของท่าน ท่านมีความคิดเห็นต่อประเด็น ดังต่อไปนี้ อย่างไร

 สามารถร้องเรียนและส่งหลักฐานได้อย่างสะดวก

 สามารถติดตามผลการร้องเรียนได้

 มั่นใจว่าจะมีการดาเนินการอย่างตรงไปตรงมา

 มั่นใจว่าจะปลอดภัยและไม่มีผลกระทบต่อตนเอง