EIT

แบบวัดกํารรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภํายนอก (External Integrity and Transparency Assessment: EIT)

มีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินระดับการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกที่มีต่อหน่วยงานที่ประเมิน ประกอบด้วยตัวชี้วัดคุณภาพการดาเนินงาน ตัวชี้วัดประสิทธิภาพการสื่อสาร และตัวชี้วัดการปรับปรุงระบบการ ท าง าน

ตัวชี้วัดที่ 6 คุณภาพการดาเนินงาน

เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงานต่อการคุณภาพการดาเนินงาน ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการ ปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ โดยยึดหลักตามมาตรฐาน ขั้นตอน และระยะเวลาที่กาหนดไว้อย่างเคร่งครัด และจะต้อง เป็นไปอย่างเท่าเทียมกันไม่เลือกปฏิบัติ รวมถึงจะต้องให้ข้อมูลเกี่ยวกับการดาเนินการ/ให้บริการของหน่วยงาน แก่รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างตรงไปตรงมา ไม่ปิดบังหรือบิดเบือนข้อมูล ซึ่งสะท้อนถึง การปฏิบัติหน้าที่อย่างมีคุณธรรม และยังประเมินการรับรู้เกี่ยวกับประสบการณ์ตรงในการถูกเจ้าหน้าที่เรียกรับเงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่น ๆ เพื่อแลกกับการปฏิบัติหน้าที่ด้วย นอกจากนี้ ยังประเมินการรับรู้เกี่ยวกับการ บริหารงานและการดาเนินงานในภาพรวมของหน่วยงาน ที่จะต้องคานึงถึงประโยชน์ของประชาชนและส่วนรวม เป็นหลัก ไม่มีการเอื้อประโยชน์ให้กับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง หรือกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ประกอบด้วยข้อคาถามจานวน 5 ข้อ ดังต่อไปนี้

e1 เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่ทา่ นติดต่อ ปฏิบัติงาน/ ให้บริการแก่ท่าน ตามประเด็นดังต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด

 โปร่งใสเป็นไปตามขั้นตอนที่กาหนด

 โปร่งใสเป็นไปตามระยะเวลาที่กาหนด

e2 เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่ท่านติดต่อ ปฏิบัติงาน/ ให้บริการแก่ท่าน กับผู้มาติดต่อคนอื่น ๆ อย่างเท่าเทียมกัน มากน้อยเพียงใด

e3 เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่ท่านติดต่อ ให้ข้อมูล เกี่ยวกับการดาเนินการ/ให้บริการแก่ท่าน อย่างตรงไปตรงมา ไม่ปิดบังหรือบิดเบือนข้อมูล มากน้อยเพียงใด

e4 ในระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมา ท่านเคยถูกเจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่ท่านติดต่อ ร้องขอให้จ่ายหรือให้สิ่งดังต่อไปนี้ เพื่อแลกกับการปฏิบัติงาน การอนุมัติ อนุญาต หรือให้บริการ หรือไม่

 เงิน

 ทรัพย์สิน

 ประโยชน์อื่น ๆ ที่อาจคานวณเป็นเงินได้ เช่น การลดราคา การให้ความบันเทิง เป็นต้น

หมายเหตุ: เป็นการให้ที่นอกเหนือจากที่กฎหมายกาหนด เช่น ค่าธรรมเนียม ค่าบริการ ค่าปรับ เป็นต้น

e5 ห น่วยงานที่ท่านติดต่อ มีกา รดาเนินงา น โดยค า นึงถึง ประโยชน์ของประชาชนและส่วนรวมเป็นหลัก มากน้อย เพียงใด

ตัวชี้วัดที่ 7 ประสิทธิภาพการสื่อสาร

เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงานต่อประสิทธิภาพการสื่อสาร ในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการ เผยแพร่ข้อมูลของหน่วยงานในเรื่องต่างๆ ต่อสาธารณชน ผ่านช่องทางที่หลากหลาย สามารถเข้าถึงได้ง่าย และไม่ซับซ้อน โดยข้อมูลที่เผยแพร่จะต้องครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งผลการดาเนินงานของ หน่วยงานและข้อมูลที่สาธารณชนควรรับทราบ รวมถึงการจัดให้มีช่องทางให้ผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย สามารถส่งคาติชมหรือความคิดเห็นเกี่ยวกับการดาเนินงาน/การให้บริการ และมีการชี้แจงในกรณี ที่มีข้อกังวลสงสัยไดอ้ ย่างชัดเจน นอกจากนี้ ยังประเมินการรับรู้เกี่ยวกับการจัดให้มีช่องทางให้ผู้มาติดต่อสามารถ ร้องเรียนการทุจริตของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานด้วย ซึ่งสะท้อนถึงการสื่อสารกับผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างมีประสิทธิภาพ ประเด็นสารวจ ประกอบด้วยข้อคาถามจานวน 5 ข้อ ดังต่อไปนี้

e6 การเผยแพร่ข้อมูลของหน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีลักษณะดังต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด

เข้าถึงง่าย ไม่ซับซ้อน

 มีช่องทางหลากหลาย

e7 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีการเผยแพร่ผลงานหรือ ข้อมูลที่สาธารณชนควรรับทราบอย่างชัดเจน มากน้อย เพียงใด

e8 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีช่องทางรับฟังคาติชมหรือความคิดเห็นเกี่ยวกับ การดาเนินงาน/การให้บริการ หรือไม่

e9 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีกา รช ี้แจงและตอบ ค าถาม เมื่อมีข้อกังวลสงสัยเกี่ยวกับการดาเนินงานได้อย่างชัดเจน มากน้อยเพียงใด

หมายเหตุ: หากท่านไม่มีข้อกังวลสงสัยให้ตอบ “มากที่สุด”

e10 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีช่องทางให้ผู้มาติดต่อร้องเรียนการทุจริตของเจ้าหน้าที่ ในหน่วยงาน หรือไม่

ตัวชี้วัดที่ 8 การปรับปรุงระบบการทางาน

เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของ ผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงานต่อการปรับปรุงระบบการทางาน ในประเด็นที่ เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงพัฒนาหน่วยงาน ทั้งการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และกระบวนการทางานของหน่วยงาน ให้ดียิ่งขึ้น รวมไปถึงการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการดาเนินงานเพื่อให้เกิดความสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น โดยควรมี กระบวนการเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ เข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุงพัฒนาการดาเนินงานเพื่อให้ สอดคล้องกับความต้องการด้วย ทั้งนี้ นอกจากหน่วยงานจะต้องปรับปรุงพัฒนาการดาเนินงานให้ดีขึ้นแล้ว ยังควรให้ความสาคัญกับการปรับปรุงการดาเนินงานให้มีความโปร่งใสมากขึ้นอีกด้วย ประกอบด้วยข้อคาถามจานวน 5 ข้อ ดังต่อไปนี้

e11 เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานที่ทา่ นติดต่อ มีการปรับปรุง คุณภาพการปฏิบัติงาน/การให้บริการให้ดีขึ้น มากน้อย เพียงใด

หมายเหตุ: หากท่านติดต่อครั้งแรก ให้เปรียบเทียบกับคุณภาพการปฏิบัติงาน/การให้บริการที่ท่านคาดหวังไว้ก่อนมาติดต่อ

e12 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีการปรับปรุงวิธีการและ ขั้นตอนการดาเนินงาน/การให้บริการให้ดีขึ้น มากน้อย เพียงใด

หมายเหตุ: หากท่านติดต่อครั้งแรก ให้เปรียบเทียบกับวิธีการและขั้นตอนการดาเนินงาน/การให้บริการที่ท่านคาดหวังไว้ก่อนมาติดต่อ

e13 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการดาเนินงาน/การให้บริการ ให้เกิดความสะดวกรวดเร็วมากขึ้น หรือไม่

e14 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ เปิดโอกาสให้ผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เข้าไปมีส่วนร่วม ในการปรับปรุงพัฒนาการดาเนินงาน/การให้บริการ ของหน่วยงานให้ดีขึ้น มากน้อยเพียงใด

หมายเหตุ: การมีส่วนร่วม เช่น ร่วมวางแผน ร่วมดาเนินการ ร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และร่วมติดตามประเมินผล เป็นต้น

e15 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีการปรับปรุงการ ดาเนินงาน/การให้บริการ ให้มีความโปร่งใสมากขึ้น มากน้อยเพียงใด

ข้อกําหนดเบื้องต้น

สําหรับตัวชี้วัดที่ 9 กํารเปิดเผยข้อมูล และตัวชี้วัดที่ 10 กํารป้องกันกํารทุจริต “ปี พ.ศ. 2562” หมายถึง รอบปีที่หน่วยงานบริหารราชการ โดย

 หากหน่วยงานบริหารราชการโดยใช้ปีงบประมาณ - ให้ใช้ข้อมูลของ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ในการตอบข้อคาถาม

 หากหน่วยงานบริหารราชการโดยใช้ปีปฏิทิน - ให้ใช้ข้อมูลของปี พ.ศ. 2562 ในการตอบ ข้อคำถาม

 หากหน่วยงานบริหารราชการโดยใช้รอบปีอย่างอื่นนอกเหนือจากปีงบประมาณหรือปีปฏิทิน -

ให้ใช้ข้อมูลของรอบปีที่หน่วยงานใช้ ประจาปี พ.ศ. 2562 ในการตอบข้อคาถาม กรณีที่หน่วยงานบริหารราชการโดยใช้ปีปฏิทินหรือรอบปีอื่น ซึ่งทาให้ไม่สามารถตอบข้อคาถามที่เกี่ยวข้อง กับการกากับติดตามรอบ 6 เดือน หรือข้อคาถามใดได้ ให้ใช้ข้อมูลในรอบ 3 เดือนในการตอบข้อคาถาม