วิชา วงจรไฟฟ้า 1

วิชา วงจรไฟฟ้า 1  รหัส 30104-1002

จุดประสงค์รายวิชา เพื่อให้

1.  เข้าใจหลักการทฤษฎีวงจรไฟฟ้า

2.  สามารถคำนวณหาค่าความต้านทาน กระแส แรงดัน กำลังไฟฟ้าและตรวจสอบแก้ไขหาข้อบกพร่องของวงจร

3.  มีกิจนิสัยในการทำงานร่วมกับอื่นด้วยความปราณี รอบคอบ และปลอดภัย

สมรรถรายวิชา 

1.  แสดงความรู้เกี่ยวกับกฎ ทฤษฎีวงจรไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ

2.  คำนวณและวัดค่าปริมาณต่างๆ ของระบบไฟฟ้ากระแสตรงและกระแสสลับ

3.  ทดสอบ จำลองการทำงานวงจรด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาและปฎิบัติเกี่ยวกับองค์ประกอบของวงจร วงจรแบบตัวต้านทาน แหล่งกำเนิกแบบอิสระและไม่อิสระ วิเคราะห์วงจรด้วยกฎของเคอร์ ชอฟฟ์ ด้วยวิธีโนดและเมช ทฤษฎีการวางซ้อน ทฤษฎีของเทวินินและนอร์ตัน วงจรออปแอมป์ คาปาซิเตอร์และอินดักเตอร์ วงจรลำดับที่หนึ่งและวงจรลำดับที่สอง ผลตอบสนองในสภาวะทรานเชียนต์ต่อแรงดันกระแสตรง วงจรแม่เหล็กไฟฟ้า ความเนี่ยวนำร่วม วงจรไฟฟ้ากระแสสลับรูปคลื่นไวน์และแผนผังเฟสเซอร์ อิมพีแดนซ์ แอดมิตแตนซ์ วงจรเรโซแนนซ์ โลก้สไดอะแกรม กำลังไฟฟ้าและการปรับปรุงตัวประกอบกำลังไฟฟ้า วงจรไฟฟ้าหนึ่งเฟสและหลายเฟส การวัดกำลังไฟฟ้า การจำลองการทำงานวงจรด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์

ครูเด่นศักดิ์ อินตาคำ ครู คศ.3 เเผนกวิชาไฟฟ้ากำลัง


กฏของเคอร์ชอฟฟ์ 

วิธีเมชเคอร์เรนต์ 

 ทฤษฎีโนดโวลต์เตจ 


หน่วยที่ 1 วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

หน่วยที่ 2.1 ความต้านทานไฟฟ้า อนุกรม ขนาน

หน่วยที่ 2.2 วงจรความต้านทานไฟฟ้า วงจรผสม

3.1 วงจรไฟฟ้า วงจรอนุกรม

3.2 วงจรไฟฟ้า วงจรขนาน

3.3 วงจรไฟฟ้าเเบบผสม

หน่วยที่ 4.1 วงจรเเบ่งกระเเสไฟฟ้า

หน่วยที่ 4.2 วงจรเเบ่งเเรงดันไฟฟ้า

หน่วยที่ 5.1 การแก้สมการวงจรไฟฟ้าโดยใช้ ดีเทอร์มิแนนต์ (Determinants) 

หน่วยที่ 6 กฏของเคอร์ชอฟฟ์ (Kirchhoff s Law)

6.1 กฏกระแสไฟฟ้า (KCL) และ กฏแรงดันไฟฟ้า (KVL)

หน่วยที่ 6 กฏของเคอร์ชอฟฟ์ (Kirchhoff s Law)

6.2 การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าโดยใช้กฏของเคอร์ชอฟฟ์ (Kirchhoff s Law)

หน่วยที่ 7 วิธีเมชเคอร์เรนต์ (Mesh Current Method) 

หน่วยที่ 8 ทฤษฎีโนดโวลต์เตจ (Node Voltage)


1.2 การต่อวงจร วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น

2.2 การอ่านค่าเเถบสีตัวต้านทาน

หน่วยที่ 3.2 การต่อวงจรเเบบอนุกรม 

หน่วยที่ 4.2 การต่อวงจรแบบขนาน 

หน่วยที่ 5.2 การต่อวงจรแบบผสม