ภารกิจกรรมการควบคุมและสอบวิทยานิพนธ์
ของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธาดา จันตะคุณ
ผู้เชี่ยวชาญ/ผู้ทรงคุณวุฒิ นับแต่ พ.ศ.2562-ปัจจุบัน

"ขอบคุณทุกท่านที่ให้เกียรติมีส่วนรวมในงานของท่าน" 

คณะกรรมการความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศประจำสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม

(คณะกรรมการรบริหารจัดการ ความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศระดับสูงประจำสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม 9 .. 2567 )

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม


วิพากย์หลักสูตร วท.ม.เทคโนโลยีสารสนเทศ

(กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิวิพากย์หลักสูตร 3 .ย. 2566 )

คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส.)


การวิเคราะห์ความคิดเห็นต่อการฉีดวัคซีนโควิด-19 ด้วยเหมืองความคิดเห็น

(ประธานกรรมการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ 1 เม.ย. 2566 )

นายพีคอน หมายสุข

นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส.)


แบบจำลองการพยากรณ์การทำร้ายตนเองของผู้ป่วยจิตเวชด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล

(ประธานกรรมการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ 1 เม.ย. 2566 )

นางสาวโสภิตา สามารถ

นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส.)


กฎการจําแนกภาวะไตวายเรื้อรังจากผู้ป่วยโรคเบาหวานด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล

(ประธานกรรมการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ 1 เม.ย. 2566 )

นางสาวลีญา เสียงเพราะ

นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส.)


การพัฒนาแบบวัดความคิดอย่างมีวิจารณญาณตาม แนวคิดของวัตสันและเกรเซอร์ เพื่อพัฒนาความรู้ด้านการวิเคราะห์และออกแบบระบบของนักศึกษา หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 

(ผู้เชี่ยวชาญประเมินเครื่องมือในงานวิจัย 8 ..2565)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณั ฐพล ธนเชวงสกุล และนางสาวเล็กฤทัย ขันทองชัย  

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์มหาวิทยาลัย ราชภัฏจันทรเกษม 


ระบบนิเวศอัตโนมัติด้วยเกมิฟิเคชันโดยใช้วิจัยเป็นฐานเพื่อส่งเสริมสมรรถนะนักวิจัยดิจิทัล

(ผู้เชี่ยวชาญประเมินเครื่องมือในงานวิจัย 25 ..2565)

นางสาวศิวะพร ลินทะลึก นักศึกษาปริญญาเอก 

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ


แบบจําลองความรู้สึกของประชาชนต่อออทิสติกด้วยเทคนิคเหมืองความคิดเห็น

 (ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ 26 .ค. 2565 )

นาย จิรเดช บุปผาวัลย์ 

นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส.)


แบบจําลองความรู้สึกของประชาชนต่อออทิสติกด้วยเทคนิคเหมืองความคิดเห็น

 (ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ 24 ส.ค. 2565 )

นางสาวชุติกาญจน์ เพชรรักษ์

นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส.)


แบบจําลองสําหรับพยากรณ์การรักษาโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงโดยเทคนิคเหมืองข้อมูล

 (ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ 24 .ค. 2565 )

นายธงไชย พ้องเสียง

นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส.)


การพัฒนาแบบจําลองการเลือกหลักสูตรอัตโนมัติด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล

 (ประธานกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ 31 มี.ค.2564)

นายปริวรรต เพียรภายลุน 

นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส.)


การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ด้วยทฤษฎีการเรียนรู้แบบการสร้างความรู้นิยมและการเชื่อมโยงความรู้ผ่านเทคโนโลยีคลาวด์สำหรับนักศึกษาปริญญาตรีเพื่อส่งเสริมการสร้างนวัตกรรมการศึกษา

(ผู้ทรงคุณวุฒิในงานวิจัย 13 เม.ย.2563)

ดร. กนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล รองคณบดีฝ่ายวิชาการ

คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี


การพัฒนาระบบฝึกทำข้อสอบอิเล็กทรอนิกส์ด้วยเทคโนโลยีบล็อกเชน 

(ประธานกรรมการสอบหัวข้อวิทยานิพนธ์ 1 เม.ย.2563)

นายปวิช หอมขจร 

นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส.)


การวิเคราะห์คุณภาพน้ำด้วยเทคนิคการจัดกลุ่มข้อมูล 

(ประธานกรรมการสอบหัวข้อวิทยานิพนธ์ 1 เม.ย.2563)

นายภัครพล อาจอาษา 

นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส.)


การพัฒนาแบบจําลองการเลือกหลักสูตรอัตโนมัติด้วยเทคนิคเหมืองข้อมูล

 (ประธานกรรมการสอบหัวข้อวิทยานิพนธ์ 1 เม.ย.2563)

นายปริวรรต เพียรภายลุน 

นิสิตปริญญาโท สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ

คณะวิทยาการสารสนเทศ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส.)


การจัดการคลังปัญญาดิจิทัลเชิงอรรถศาสตร์ด้วยกระบวนการถอดบทเรียนบ่มเพาะวิสาหกิจในสถาบันอุดมศึกษาเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะผู้ประกอบการดิจิทัล

(ผู้ทรงคุณวุฒิในงานวิจัย 4 ก.พ.2562)

นายธนพล นามนวล นักศึกษาปริญญาเอก 

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ


รูปแบบการเรียนรู้ทางอารมณ์สังงคมด้วยเทคโนโลยีความจริงผสมเพื่อพัฒนาทักษะปฏิบัติและความฉลาดทางอารมณ์ดิจิทัลสำหรับบัณฑิตนักปฏิบัติ 

(ผู้ทรงคุณวุฒิในงานวิจัย 2 ธ.ค.2562)

นายกฤษณพงศ์ เลิศบำรุงชัย นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ


การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบผสมผสานตามแนวคอสตรัคติวิสต์เพื่อส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองและการรู้สารสนเทศสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี 

(ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจเครื่องมือวิจัย 10 ต.ค.2562)

นางกาญจนา คำสมบัติ นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม


Digital Storytelling through Teamwork Gamification Model to Create Computer Art Innovation

(ผู้ทรงคุณวุฒิในงานวิจัย 19 ก.ย.2562)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร.วรรณพร  ชูจิตารมย์ 

คณะดิจิทัลอาร์ต มหาวิทยาลัยรังสิต


โครงการศึกษารูปแบบและแนวทางการพัฒนาแหล่งเรียนรู้สมัยใหม่ในยุคดิจิทัลที่เหมาะสมกับผู้เรียนในวัยแรงงาน 

(ผู้ทรงคุณวุฒิในงานวิจัย 1 ส.ค.2562)

รองศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์  นิลสุข (ทุนวช.) 

หัวหน้าศูนย์วิจัยเทคโนโลยีทางอาชีวศึกษา  

ณ สำนักวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ


การจัดการทรัพยากรมนุษย์อย่างชาญฉลาดด้วยการจัดการข้อมูลเชิงความหมายผ่านเทคโนโลยีเชื่อมโยงสรรพสิ่งสู่องค์กรการศึกษาสมรรถนะสูง 

(ผู้ทรงคุณวุฒิในงานวิจัย 25 ก.ค.2562)

นางสาวกนกรัตน์ จิรสัจจานุกูล นักศึกษาปริญญาเอก สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ


The Combination of Imagineering Process and STEAM-GAAR Field Learning Model to Create Art Innovation Collaborative

(ผู้ทรงคุณวุฒิในงานวิจัย 11 พ.ค.2562)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร.วรรณพร  ชูจิตารมย์ 

คณะดิจิทัลอาร์ต มหาวิทยาลัยรังสิต


การจัดผังมโนทัศน์ล่วงหน้าแบบกราฟิกบนสภาพแวดล้อมการเรียนรู้แบบคลาวด์เพื่อเสริมสร้างการคิดเชิงระบบของนักศึกษาปริญญาบัณฑิต 

(ผู้ทรงคุณวุฒิในงานวิจัย 8 พ.ค.2562)

นางสาวพิชยา ศรีแสน นักศึกษาโท 

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ


รูปแบบศิลปะการเล่าเรื่องผ่านคลาวด์เทคโนโลยีเพื่อสร้างสรรค์นวัตกรรมแอนิเมชัน

(ผู้ทรงคุณวุฒิในงานวิจัย 30 เม.ย.2562)

ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร.วรรณพร  ชูจิตารมย์ 

คณะดิจิทัลอาร์ต มหาวิทยาลัยรังสิต