Electromagnetics Theory

CH 1 เวกเตอร์และแคลลูลัสเวกเตอร์

1.1 เกริ่นนำและความหมายของสนาม (Field)

1.2 พิกัดฉากและเวกเตอร์หนึ่งหน่วย (unit vector)

1.2.1 ตัวอย่าง สนามเวกเตอร์และการหา unit vector

1.3 การบวก-ลบเวกเตอร์

1.3.1 ตัวอย่าง การบวกลบเวกเตอร์

1. 4 เวกเตอร์ตำแหน่งและเวกเตอร์ระยะทาง พร้อม ตัวอย่าง

1.5 การคูณเวกเตอร์ dot product

1.5.1 ตัวอย่างการคูณเวกเตอร์ dot product

1.6 การคูณเวกเตอร์ cross product

1.6.1 ตัวอย่างการคูณเวกเตอร์ cross product

1.6.2 ผลคูณของเวกเตอร์ 3 เวกเตอร์ พร้อมตัวอย่าง

1.7 พิกัดต่าง ๆ และการแปลงพิกัด

1.7.1 หลักการระบบพิกัด

1.7.2ความสัมพันธ์ระหว่างพิกัดต่าง ๆ พร้อมตัวอย่าง

1.7.3 การแปลงเวกเตอร์จากพิกัดต่าง ๆ

1.7.3.1 ตัวอย่างการแปลงเวกเตอร์จากพิกัดต่าง ๆ : พิกัดฉากกับวงกลม

1.7.4 ตัวอย่างกรณีเวกเตอร์ตำแหน่งกับเวกเตอร์ระยะทางกับการแปลง

1.8 เวกเตอร์แคลคลูลัส

1.8.1 ภาพรวมเวกเตอร์แคลคลูลัส

1.8.2 Vector oprator -Del


CH 2 กฎของคูลอมป์และความเข้มสนามไฟฟ้า

2.1 ภาพรวมของสนามไฟฟ้า

2.2 รงคูลอมป์

2.2.1 ตัวอย่างแรงคูลอมป์

2.3 ความเข้มสนามไฟฟ้า- E field

2.3.1 ตัวอย่างความเข้มสนามไฟฟ้า

2.3.2 ตัวอย่างความเข้มสนามไฟฟ้า ไดโพล

2.4 พื้นฐานสนามไฟฟ้าจากกระจายของประจุ

2.4.1 ตัวอย่างบนแกน z และสรุปบนแกนอื่น ๆ

2.4.2 ประจุเชิงเส้นยาวอนันต์ (Part 1/2, Part 2/2)

2.4.3 finite line charge แบบสมมาตร

2.4.4 ประจุเชิงผิว พร้อมตัวอย่าง

2.5 ตัวอย่างการคำนวนสนามไฟฟ้าที่เกิดจากหลายแบบ

2.5.1 ตัวอย่างการคำนวนสนามไฟฟ้าที่เกิด Point+line+Surface Charges


CH 3 ความหนาแน่นฟลักซ์ไฟฟ้า กฎของเกาส์ และไดเวอร์เจนต์

3.1 การทดลองของฟาราเดย์

3.2 ความหนาแน่นฟลักซ์ไฟฟ้า ตัวอย่างแบบจุด

3.2.1 ตัวอย่างความหนาแน่นฟลักซ์ไฟฟ้าแบบจุดและแบบเส้น

3.3 ที่มากฎของเกาส์

3.4 ผิวของเกาส์ 3 แบบ ตัวอย่างของ line charge

3.4.1 การประยุกต์ใช้กฎของเกาส์ กรณีทรงกลม

3.4.2 การประยุกต์ใช้กฎของเกาส์ พิกัดฉาก

3.5 ที่มาของไดเวอร์เจนต์เวกเตอร์

3.5.1 ไดเวอร์เจนต์เวกเตอร์และตัวอย่าง

3.6 ทฤษฎีไดเวอร์เจนต์และตัวอย่างพิกัดฉาก

3.6.1 ตัวอย่างพิกัดทรงกระบอก

3.7 สรุป ความสัมพันธ์กฎของเกาส์ ทฤษฎีไดเวอร์เจนต์ และสมการแมกเวลล์สมการที่ 1


CH 4 งานและศักย์ไฟฟ้า

4.1 พลังงานในการเคลื่อนประจุแบบจุดภายใต้สนามไฟฟ้า (Part 1, Part 2 , Part 3, Part 4)

4.2 การอินทิเกรตเชิงเส้น พร้อมตัวอย่าง ทรงกระบอก

4.3 ความต่างศักย์และศักย์ไฟฟ้า

4.3.1 ตัวอย่างความต่างศักย์ พิกัดฉาก

4.3.2 ตัวอย่างความต่างศักย์ พิกัดทรงกระบอก

4.4 สนามศักย์ไฟฟ้าเนื่องจากจุดประจุและผิวสมศักย์(Equipotential surface)

4.5 เกรเดียนต์ของศักย์ไฟฟ้า (ที่มาแบบสั้น)

4.5.1 ตัวอย่างเกรเดียนต์ของศักย์ไฟฟ้า (พิกัดฉาก)

4.5.2 ตัวอย่างเกรเดียนต์ของศักย์ไฟฟ้า (พิกัดทรงกระบอก)

4.6 ความหนาแน่นพลังงาน (Part 1, Part 2)

CH 5 กระแส ตัวนำและความต้านทาน

5.1 เกริ่นนำสนามไฟฟ้าในวัสดุ

5.2 กระแสไฟฟ้าและความหนาแน่น (01/02)

5.3 กระแสไฟฟ้าและความหนาแน่น (02/02)

5.3.1 ตัวอย่างเรื่องกระแสไฟฟ้า (พิกัดฉากและทรงกระบอก)

5.4 ความต่อเนื่องของกระแสไฟฟ้า

5.5 ตัวนำไฟฟ้า กฏของโอห์ม พร้อมตัวอย่าง

5.5.1 ตัวอย่าง ตัวนำไฟฟ้า กฏของโอห์ม

5.6 การนำไฟฟ้าของวัสดุอื่น ๆ

CH 6 วัสดุไดอิเล็กตริกและตัวเก็บประจุ

6.1 ธรรมชาติไดอิเล็กตริก

6.2 ที่มาของ D (Electric flux density) กรณีมีไดอิเล็กตริก

6.3 ค่าไดอิเล็กตริกของวัสดุ Homogeneous and Anisotropic

6.4 ตัวเก็บประจุพื้นฐาน

6.5 การต่อตัวเก็บประจุ และชนิดของตัวเก็บประจุ


CH 7 สมการปัวซองและลาปลาซ (Poisson's and Laplace's Equations)

7.1 ที่มาสมการปัวซองและลาปลาซ

7.2 ตัวอย่างพิกัดฉากของสมการลาปลาซ

7.3 ตัวอย่างพิกัดทรงกระบอกของสมการลาปลาซ (radius)

7.4 ตัวอย่างพิกัดทรงกระบอกของสมการลาปลาซ (phi)

7.5 ตัวอย่างพิกัดทรงกลมของสมการลาปลาซ (radial)

7.6 ตัวอย่างพิกัดทรงกลมของสมการลาปลาซ ( theta)


CH 8 สนามแม่เหล็กสถิต

8.1 เกริ่นนำสนามแม่เหล็ก

8.2 สนามแม่เหล็กที่เกิดจากเส้นลวดยาวอนันต์(infinite wire)