การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม

โรงเรียนเลิศอรุณ ใช้หลักธรรมาภิบาล (Good Governance) การกระจายอนาจการมี ส่วนร่วม เป็นปัจจัยที่สคัญที่สุด ในการบริหารงานการศึกษาของโรงเรียน เพราะจะช่วยให้มีคณะบุคคลเข้ามา มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของโรงเรียน และบริหารจัดการโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพ เช่น การจัดกิจกรรม การสร้างหลักสูตรอันเหมาะสมของท้องถิ่นที่ทันสมัย ทันโลก ผสมผสานกับภูมิปัญญาของท้องถิ่น สอดคล้อง กับความต้องการของผู้เรียนและชุมชน ทให้เกิดการประหยัดการใช้ทรัพยากร ในด้านต่างๆ อาทิ ทรัพยากร บุคคล งบประมาณ เพราะทุกภาคส่วนร่วมพัฒนาโดยเข้ามามีส่วนร่วม ในความรับผิดชอบ เพื่อยกระดับ คุณภาพการจัดการศึกษา ผลจากการเข้ามามีส่วนร่วมในการติดตามตรวจสอบ มีผลทให้การจัดการศึกษาใน ท้องถิ่นดีขึ้น สอดคล้องกับระเบียบสนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและ สังคมที่ดี ข้อ 4 หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี ที่ระบุไว้ในข้อย่อย 4.2 ว่าในการบริหารกิจการ บ้านเมืองและสังคมที่ดี ควรจัดหรือส่งเสริมให้สังคมไทยอยู่บนพื้นฐานของหลักสคัญอย่างน้อย 6 ประการ คือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า คุ้มทุน โดยเฉพาะ หลักการมีส่วนร่วม เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้


การบริหารงานแบบมีส่วนร่วม เป็นเหตุผลที่จเป็นต่อการบริหารโรงเรียน คือ

1) ก่อให้เกิดความเข้าใจร่วมกันในการปฏิบัติงานที่มุ่งหวังความสเร็จ

2) กระบวนการตัดสินใจสามารถรองรับพฤติกรรมของบุคคลในโรงเรียนได้กว้างขวางและเกิดการ ยอมรับได้

3) เป็นหลักการของการบริหารที่เป็นผลต่อการดเนินการเชิงวิเคราะห์ด้วยเหตุผลเพื่อ การระดม ความคิด ซึ่งนไปสู่การตัดสินใจได้

4) ลดช่องว่างของระบบการสื่อสารในองค์กรและขจัดปัญหาความขัดแย้งได้ การปฏิบัติงานของโรงเรียนบ้านเลิศอรุณ จะเป็นไปโดยการแบ่งหน้าที่การงานแต่ละ ฝ่ายตาม คสั่งมอบหมายหน้าที่ การปฏิบัติงานตามคสั่งเป็นลักษณะของการสั่งการ การประสบความล้มเหลวหรือ ประสบความสเร็จของงานในโรงเรียนเป็นสิ่งที่สามารถมีปัจจัยหลายอย่าง เช่น การทงานเชิงบุคคลเป็น สคัญ เป็นแนวทางซึ่งจะมีความสเร็จ ที่เกิดขึ้นโดยการเสนอความคิด และร่วมกระท การจัดกระทเพื่อ โรงเรียนให้มีการพัฒนาและเร่งรัดจะต้องก่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม โรงเรียนจัดให้บุคลากรมีส่วนร่วมต่อ กันถือความคิดเห็นในทิศทางของ

1) ลักษณะของปัญหาหรือความต้องการที่จะแก้ไขหรือตัดสินใจ บนพื้นฐานของบุคคลที่รับรู้

2) การเรียนรู้ว่าสิ่งที่เป็นความต้องการเพื่อแก้ไขหรือข้อมูลของปัญหามีที่มาและอยู่ในทิศทางใด

3) การนเสนอแนวทางแก้ไขปัญหา โดยเหตุและผลซึ่งเป็นการระดมจากความคิดบุคคล เอกสาร หรือข้อเสนอหรือข้อมูลต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรม

4) การประเมินผลลัพธ์ว่ามีความเป็นไปได้อย่างไรมีข้อจกัดหรือมีความเสี่ยงอย่างไร และ

5) การตัดสินใจของผู้บริหาร การหาทางเลือกในการตัดสินใจ เหตุผลของการตัดสินใจ และผลลัพธ์ที่ ได้

ทั้งหมดเป็นสิ่งที่ต้องมาจากความคิดในบุคคลทุกระดับร่วมกันเสนอหรือให้ข้อมูลหรือวินิจฉัยเป็นมูลฐาน ขั้นของความสเร็จที่่

ส่งผลให้เกิดการมีส่วนร่วม ประกอบด้วย

1. การเรียนรู้ในกิจกรรมของตนหรือหน้าที่ของตนเองอย่างต่อเนื่อง เป็นผลต่อความรู้สึกในการอยาก รู้ อยากเข้าใจ และอยากเข้าไปมีส่วนร่วม (เป็นการทการบ้านเพื่อตนเอง)

2. สไตล์การทงานของแต่ละบุคคล เป็นโอกาสของการเลือกเพื่อให้ตนเองก้าวต่อไปหรือได้รับการ สนับสนุน

3. ความมีอารมณ์ที่มั่นคง

4. การยอมรับจุดอ่อนของตนเอง หรือความบกพร่องต่าง ๆ ของตนเอง

5. รู้ตนเอง (จุดแข็งที่มีอยู่หรือศักยภาพของตนเอง)

6. มีความคิดเห็นในเชิงทะเยอทะยาน โดยเป้าหมายเป็นจุดน่าทดลองเสี่ยงเพื่อความสเร็จในงาน ของตนเอง

7. สร้างข่ายงานได้ โดยมีการพึ่งพาต่อกัน ทั้งเพื่อน, ผู้บังคับบัญชา หรือผู้ใต้บังคับบัญชา

8. เรียนรู้การทงานเป็นกลุ่มว่ามีขั้นตอนอย่างไร

9. เรียนรู้ที่จะเงียบ เป็นแบบแผนการทงาน