ทะเบียนพรรณไม้ 041-050
รหัสพรรณไม้ 7-71000-001-041
ชื่อพื้นเมือง พิกุล
ชื่อวิทยาศาสตร์ Mimusops elengi Linn
ชื่อวงศ์ SAPOTACEAE
ลักษณะวิสัย ไม้ยืนต้น ลักษณะเด่นของพืช
ดอกเป็นสีขาว ผลสุขสีแดง บริเวณที่พบ หลังพระพุทธรูป
รหัสพรรณไม้ 7-71000-001-042
ชื่อพื้นเมือง พุดจีบ
ชื่อวิทยาศาสตร์ Ervatramia divaricate
ชื่อวงศ์ APOCYNACEAEA(The Dogbane Family)
ลักษณะวิสัย ไม้พุ่ม ลักษณะเด่นของพืช
ดอกสีขาว มีกลิ่นหอมเย็น บริเวณที่พบ หลังหอประชุม
รหัสพรรณไม้ 7-71000-001-043
ชื่อพื้นเมือง ยี่เข่ง
ชื่อวิทยาศาสตร์ Largerstroemia indica Linn.
ชื่อวงศ์ LYTHRACEAE
ลักษณะวิสัย ไม้พุ่ม ลักษณะเด่นของพืช
ขนาดกลาง สูง โปร่ง 20-50 ฟุต บริเวณที่พบ หน้าบ้าน ผอ.
รหัสพรรณไม้ 7-71000-001-044
ชื่อพื้นเมือง ชมนาด
ชื่อวิทยาศาสตร์ Vallaris glabra
ชื่อวงศ์ APOCYNACEAE
ลักษณะวิสัย ไม้เลื้อย ลักษณะเด่นของพืช
เป็นไม้เลื้อยยืนต้นขนาดใหญ่ บริเวณที่พบ หน้าบ้าน ผอ.
รหัสพรรณไม้ 7-71000-001-045
ชื่อพื้นเมือง เพ็ตติโค้ตปาล์ม
ชื่อวิทยาศาสตร์ Washingonia filifera
ชื่อวงศ์ PALMAE
ลักษณะวิสัย ไม้ยืนต้น ลักษณะเด่นของพืช
ตามลำต้นจะมีเส้นใยปกคลุมอยู่ บริเวณที่พบ ข้างต้นจามจุรี
รหัสพรรณไม้ 7-71000-001-046
ชื่อพื้นเมือง มะขามเทศด่าง
ชื่อวิทยาศาสตร์ Pithecellobium dulce
ชื่อวงศ์ MIMOSACEAE
ลักษณะวิสัย ไม้ยืนต้น ลักษณะเด่นของพืช
พื้นใบเป็นสีเทาขลิบด้วยสีขาว บริเวณที่พบ หน้าหอประชุม
รหัสพรรณไม้ 7-71000-001-047
ชื่อพื้นเมือง หมากผู้หมากเมีย
ชื่อวิทยาศาสตร์ Cordy line sp.
ชื่อวงศ์ LILIACEAE
ลักษณะวิสัย ไม้พุ่ม ลักษณะเด่นของพืช
ใบมีสีสันต่างๆกัน บริเวณที่พบ หน้าอาคาร 1
รหัสพรรณไม้ 7-71000-001-048
ชื่อพื้นเมือง มะลิวัลย์
ชื่อวิทยาศาสตร์ Jasminum undulatum
ชื่อวงศ์ OLEACEAE
ลักษณะวิสัย ไม้เลื้อย ลักษณะเด่นของพืช
มีเถาเล็กเรียวคล้ายกับเส้นด้าย บริเวณที่พบ หน้าบ้าน ผอ.
รหัสพรรณไม้ 7-71000-001-049
ชื่อพื้นเมือง โมก
ชื่อวิทยาศาสตร์ Wrightia religiosa
ชื่อวงศ์ APOCYNACEAE
ลักษณะวิสัย ไม้พุ่ม ลักษณะเด่นของพืช
ใบยาวเล็กขอบใบหยัก บริเวณที่พบ บริเวณน้ำตก อาคาร 1
รหัสพรรณไม้ 7-71000-001-050
ชื่อพื้นเมือง ยี่สุ่น
ชื่อวิทยาศาสตร์ Rosa chine sis Jacjg.Var.minina Vass
ชื่อวงศ์ ROSACEAE
ลักษณะวิสัย ไม้พุ่ม ลักษณะเด่นของพืช
ดอกคล้ายกุหลาบขนาดเล็ก บริเวณที่พบ หน้าบ้าน ผอ.