ทะเบียนพรรณไม้ 031-040
รหัสพรรณไม้ 7-71000-001-031
ชื่อพื้นเมือง ปาล์มพัด
ชื่อวิทยาศาสตร์ Plerocapus Indicus
ชื่อวงศ์ PALMAE
ลักษณะวิสัย ไม้ยืนต้น ลักษณะเด่นของพืช
ลำต้นตั้งตรงและเกลี้ยงเรียว บริเวณที่พบ
หน้าอาคาร 4
รหัสพรรณไม้ 7-71000-001-032
ชื่อพื้นเมือง ปาล์มสะดือเขียว
ชื่อวิทยาศาสตร์ Thrinax parviflora
ชื่อวงศ์ PALMAE
ลักษณะวิสัย ไม้ยืนต้น ลักษณะเด่นของพืช
จุดที่รวมกันของใบย่อยมีจุดสีเขียว บริเวณที่พบ หน้าองค์พระบริเวณสระ
รหัสพรรณไม้ 7-71000-001-033
ชื่อพื้นเมือง ปาล์มสิบสองปันนา
ชื่อวิทยาศาสตร์ Hoenix Toureiri kunth
ชื่อวงศ์ PALMAE
ลักษณะวิสัย ไม้ยืนต้น ลักษณะเด่นของพืช
ใบเป็นทางยาว บริเวณที่พบ หน้าร้านสวัสดิการ
รหัสพรรณไม้ 7-71000-001-034
ชื่อพื้นเมือง ปีบ,กาสะลอง
ชื่อวิทยาศาสตร์ Millingtonia Hortensis L.F.
ชื่อวงศ์ BIGNONIACEAE
ลักษณะวิสัย ไม้ยืนต้น ลักษณะเด่นของพืช
มีดอกสีขาว และมีกลิ่นหอม บริเวณที่พบ
ข้างอาคารกาญจนิกา
รหัสพรรณไม้ 7-71000-001-035
ชื่อพื้นเมือง ไผ่น้ำเต้า
ชื่อวิทยาศาสตร์ Banbasa ventricosa Maclare
ชื่อวงศ์ GRAMINEAR
ลักษณะวิสัย ขึ้นเป็นกอ ลักษณะเด่นของพืช มีลำต้นเป็นปล้องๆ บริเวณที่พบ
หน้าหอประชุม
รหัสพรรณไม้ 7-71000-001-036
ชื่อพื้นเมือง สนแผง
ชื่อวิทยาศาสตร์ Calocedrus macrolepis kurs
ชื่อวงศ์ CUPRESSACEAE
ลักษณะวิสัย ไม้พุ่ม ลักษณะเด่นของพืช
ลักษณะใบเป็นแผง บริเวณที่พบ บริเวณศาลพระภูมิ
รหัสพรรณไม้ 7-71000-001-037
ชื่อพื้นเมือง พลับพลึง
ชื่อวิทยาศาสตร์ Crinum asiaticum.Linn
ชื่อวงศ์ AMARYLLIDACEAE
ลักษณะวิสัย ขึ้นเป็นกอ ลักษณะเด่นของพืช
มีกาบใบเกาะกันแน่นเหมือนลำต้น บริเวณที่พบ
หน้าร้านสวัสดิการ
รหัสพรรณไม้ 7-71000-001-038
ชื่อพื้นเมือง พวงคราม
ชื่อวิทยาศาสตร์ Petra volubilis
ชื่อวงศ์ VERBENACEAE
ลักษณะวิสัย ไม้เลื้อย ลักษณะเด่นของพืช
ออกดอกเป็นช่อ สีม่วงคราม บริเวณที่พบ ประตูข้างวิทยาลัย
รหัสพรรณไม้ 7-71000-001-039
ชื่อพื้นเมือง พวงชมพู
ชื่อวิทยาศาสตร์ Antigonon Lengopus
ชื่อวงศ์ POLYGONACEAE
ลักษณะวิสัย ไม้พุ่ม ลักษณะเด่นของพืช
ดอกเป็นพวงสีชมพู บริเวณที่พบ ข้างหอประชุม
รหัสพรรณไม้ 7-71000-001-040
ชื่อพื้นเมือง ปรงญี่ปุ่น
ชื่อวิทยาศาสตร์ Cyeas revoluta Thumb
ชื่อวงศ์ CYCADACEAE
ลักษณะวิสัย ไม้พุ่ม ลักษณะเด่นของพืช
ใบคล้ายมะพร้าวแหลมเล็ก บริเวณที่พบ หน้าร้านสวัสดิการ