กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา

                 1. นางปาริชาติ เข่งแก้ว ตำแหน่งเลขที่ 98 ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ ปฏิบัติหน้าที่ผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา และเลขานุการคณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 ปฏิบัติหน้าที่ดังนี้

                     ๑.๑ งานนิเทศการศึกษา

                     มีหน้าที่และความรับผิดชอบ

                     ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับงานวิชาการและงานนิเทศการศึกษา เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนให้ได้มาตรฐาน ศึกษา ค้นคว้าทางวิชาการและวิเคราะห์ วิจัย ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีคุณภาพการปฏิบัติงาน ดังนี้

                     คุณภาพการปฏิบัติงาน

                     มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการนิเทศการศึกษา หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ การวัด
การประเมินผลการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษา ระบบดูแลช่วยเหลือครูและนักเรียน เครื่องมือ
การนิเทศในระดับพื้นฐาน มีความสามารถในการวางแผนการนิเทศการศึกษา งานวิชาการ งานติดตาม ตรวจสอบ  ประเมินผลการจัดการศึกษาและจัดทำรายงาน โดยแสดงให้เห็นว่ามีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ปรับประยุกต์ ระเบียบแบบแผนการนิเทศที่กำหนดให้เหมาะสมกับสถานการณ์และมีการพัฒนาตนและ
พัฒนาวิชาชีพ

                     มีทักษะในการนิเทศที่คำนึงถึงความแตกต่างของครู ส่งผลให้ครูและบุคลากรในสถานศึกษาสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเป็นผู้มีวินัย คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ

                     ๑.๒ การบริหารงานในกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา ดังนี้

                           (๑) งานธุรการ

                           (๒) กลุ่มงานพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและกระบวนการเรียนรู้

                           (๓) กลุ่มงานวัดและประเมินผลการจัดการศึกษา

                           (๔) กลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

                           (๕) กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลระบบบริหารและการจัดการศึกษา

                           (๖) กลุ่มงานส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

                           (๗) กลุ่มงานเลขานุการคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ และประเมินผลและ
นิเทศการศึกษา

                     ๑.๓ การกลั่นกรอง ตรวจสอบ ให้ความเห็นและผ่านงานของกลุ่มงานต่าง ๆ ให้ดำเนินไปด้วยความเรียบร้อย ถูกต้อง ตามกฎระเบียบแผนของทางราชการ ก่อนเสนอผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                     ๑.๔ ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือ
ที่ได้รับมอบหมาย

                           (๑) การปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของส่วนราชการในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                           - ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจ และบทบาทอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานในสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา เพื่อหาแนวทางปฏิบัติงานร่วมกัน

                           - เสนอแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้มีอำนาจพิจารณาตัดสินใจ

                           - ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและปฏิบัติงานร่วมกับ หรือ สนับสนุนหน่วยงานอื่นภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามที่ได้รับมอบหมาย

                           - ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งเผยแพร่ผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                           (๒) การปฏิบัติงานร่วมกับ หรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของส่วนราชการนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                           - ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจ และบทบาทอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อหาแนวทางปฏิบัติงานร่วมกัน

                           - เสนอแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้มีอำนาจพิจารณาตัดสินใจ

                           - ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและปฏิบัติงานร่วมกับ หรือ สนับสนุนหน่วยงานอื่นภายนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามที่ได้รับมอบหมาย

                           - ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งเผยแพร่ผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                     ๑.๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์  ดำเนินการดังนี้

                           (๑) ศึกษาค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์เอกสารหลักสูตรในกลุ่มวิชาที่รับผิดชอบและเผยแพร่ผู้ที่เกี่ยวข้อง

                           (๒) ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบให้เหมาะสมกับท้องถิ่น

                           (๓) จัดประชุมอบรม สัมมนา เป็นวิทยากรและให้คำปรึกษาในกลุ่มสาระการเรียนรู้
ที่รับผิดชอบ

                           (๔) ผลิต เผยแพร่ เอกสารทางวิชาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                           (๕) วางแผน ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                           (๖) นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการใช้หลักสูตร กิจกรรมการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                           (๗) พัฒนารูปแบบ เทคนิค วิธีการ สื่อ เครื่องมือการนิเทศในกลุ่มสาระการเรียนรู้
ที่รับผิดชอบ

                           (๘) วิเคราะห์ วิจัย และรายงานผลในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                     ๑.๖ งาน/โครงการที่ได้รับมอบหมาย

                           (๑) งาน/โครงการตามนโยบาย

                               - โครงการพัฒนาระบบการนิเทศเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา

                           - โครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน

                               - โครงการส่งเสริมการขับเคลื่อนคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมโดยคณะกรรมการติดตาม การตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.)

                           (๒) งาน/โครงการตามภาระงาน และกลุ่มสาระการเรียนรู้

                               - การส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ

                           - การส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

                           (๓) โครงการที่เกี่ยวกับวิชาการอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย

                           - โครงการสนับสนุนการพัฒนาครูและโรงเรียนยกระดับคุณภาพการศึกษา

อย่างต่อเนื่อง รุ่นที่ 2 ปี 2563 โดยมหาวิทยาลัยนเรศวร

                           - กระบวนการชุมชนการเรียนรู้แห่งวิชาชีพ (PLC)

                           - การพัฒนาศักยภาพศึกษานิเทศก์

                           - การพัฒนาทักษะกระบวนการคิด

                           - การพัฒนาด้านงานวิชาการ

                           - การวัดและการประเมินผล

                       - การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

                           - จิตศึกษา

                           - การพัฒนาด้านพหุปัญญา

                               - Coaching and Mentoring ครูผู้ช่วยวิชาเอกภาษาอังกฤษ และวิชาเอกสังคมศึกษา

 

                     ๑.๗ ศูนย์พัฒนาวิชาการที่รับผิดชอบ ในศูนย์ประสานงานอำเภอบึงสามพัน

จำนวน 4 ศูนย์ พัฒนาวิชาการ ได้แก่

                           (๑) ศูนย์พัฒนาวิชาการบึงสามพันหนองแจง       จำนวน    7  โรงเรียน  

                           (๒) ศูนย์พัฒนาวิชาการกันจุสระแก้ว               จำนวน   10  โรงเรียน

                           (3) ศูนย์พัฒนาวิชาการวังพิกุลศรีมงคลพญาวัง    จำนวน     9  โรงเรียน

                           (4) ศูนย์พัฒนาวิชาการซับสมอทอดซับไม้แดง    จำนวน     3  โรงเรียน

                                                                   รวมทั้งสิ้น   จำนวน   29  โรงเรียน

                     ๑.๘ ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย

                     ๑.๙ ในกรณีที่ผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษาไม่อยู่ หรืออยู่แต่ไม่สามารถปฏิบัติราชการได้ มอบหมายให้บุคคลปฏิบัติหน้าที่แทนตามลำดับ ดังนี้

                           (1) นางสาวพัชรินทร์  วาวงศ์มูล ศึกษานิเทศก์  วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ

                           (2) นางกัญจนา  มีศิริ                    ศึกษานิเทศก์  วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ                    

กลุ่มงานพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ัและกระบวนการเรียนรู้

                 ๒. นางปาริชาติ เข่งแก้ว ตำแหน่งเลขที่ 98 ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะ ชำนาญการพิเศษ ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและกระบวนการเรียนรู้ ทำหน้าที่          ในกลุ่มงานพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและกระบวนการเรียนรู้  ดังนี้

                     ๒.๑ งานนิเทศการศึกษา

                     มีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้

                 ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับงานวิชาการและงานนิเทศการศึกษาเพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนให้ได้มาตรฐาน ศึกษา ค้นคว้าทางวิชาการ และวิเคราะห์ วิจัย ติดตาม ตรวจสอบตลอดจนประเมินผลเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมายโดยมีคุณภาพการปฏิบัติงาน ดังนี้

                     คุณภาพการปฏิบัติงาน

                           (๑) มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการนิเทศการศึกษา หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ การวัดและการประเมินผลการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษา ระบบดูแลช่วยเหลือครู และผู้เรียน

                           (๒) ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเครื่องมือการนิเทศในระดับพื้นฐาน มีความสามารถในการวางแผนการนิเทศการศึกษา งานวิชาการ งานติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลการจัดการศึกษาและจัดทำรายงานโดยแสดงให้เห็นว่ามีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ปรับประยุกต์ระเบียบ แบบแผนการนิเทศที่กำหนดให้เหมาะสมกับสถานการณ์ และมีการพัฒนาคนและพัฒนาวิชาชีพ

                           (๓) มีทักษะในการนิเทศที่คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ส่งผลให้ครูและบุคลากรในสถานศึกษาสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้ให้บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

                           (๔) เป็นผู้มีวินัย คุณธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ

                     ๒.๒ งานประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน

                           (๑) วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารและแหล่งข้อมูลต่าง ๆ อาทิ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้

                           (๒) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร แนวทางการจัดการเรียนรู้ แนวทาง
การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แนวทางการวัดและประเมินผล และแนวทางการวัดและประเมินคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนในพื้นที่ รวมทั้งศึกษาสภาพปัญหา บริบททางสังคมและความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในอนาคต

                           (๓) ดำเนินการจัดทำกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่นด้วยกระบวนการทำงานแบบ
มีส่วนร่วม และเผยแพร่ให้สถานศึกษาในสังกัดนำไปใช้ในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา

                           (๔) ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาผู้บริหารโรงเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาและใช้หลักสูตรสถานศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

                           (๕) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง กรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น และความต้องการ จุดเน้นของสถานศึกษาด้วยกระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วม

                           (๖) ส่งเสริมและประสานความร่วมมือระหว่างสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และชุมชนอย่างสม่ำเสมอเพื่อร่วมมือช่วยเหลือกันในการพัฒนาและใช้หลักสูตรสถานศึกษา

                           (๗) นิเทศ กำกับ ติดตาม ให้คำแนะนำ ช่วยเหลือผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนเพื่อให้เกิดการปรับปรุง/พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาให้มีคุณภาพ

                           (๘) ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพหลักสูตร

                           (๙) สรุปรายงาน และเผยแพร่ผลการใช้/การพัฒนาหลักสูตร       

                 ๒.๓ งานศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อพัฒนาหลักสูตร การสอนและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน

                           (๑) ศึกษานโยบาย แผนงานและยุทธศาสตร์ในพัฒนา การบริหารจัดการหลักสูตรการพัฒนาและการใช้หลักสูตร การพัฒนาคุณภาพครูและผู้เรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                           (๒) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพื่อพัฒนากรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น

                           (๓) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยและติดตามการพัฒนาและประเมินผลการใช้หลักสูตร

                           (๔) ส่งเสริม สนับสนุนผู้บริหารสถานศึกษาและครูในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา การสอนและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน

                           (๕) ส่งเสริม สนับสนุนผู้บริหารสถานศึกษา และครูในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาโดยใช้ข้อมูลจากการนิเทศ การวิจัย และการประเมินผลการใช้หลักสูตร และการประเมินคุณภาพผู้เรียน

                           (๖) ส่งเสริม สนับสนุนผู้บริหารสถานศึกษา และครูให้ศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพื่อพัฒนาและติดตามผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษา พัฒนาการบริหารจัดการหลักสูตร การจัดการเรียนรู้ตามหลักสูตร และทำวิจัยปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการสอนและส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน

                           (๗) นิเทศ กำกับ ติดตาม ให้ความช่วยเหลือแนะนำผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนเพื่อให้เกิดการวิจัยและพัฒนาหลักสูตร การสอน และกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนให้มีคุณภาพ

                           (๘) ติดตาม ประเมินผล วิจัยการใช้หลักสูตร การสอน และกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน

                           (๙) ประเมินคุณภาพหลักสูตร การสอน และกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน

                           (๑๐) นำผลการวิจัยมาใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา คุณภาพครูและคุณภาพนักเรียนทั้งในระดับเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา รวมทั้งกำหนดยุทธศาสตร์และนโยบายในการบริหารจัดการหลักสูตรของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                           (๑๑) วิจัยและพัฒนาหลักสูตร การสอนและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน

                           (๑๒) ส่งเสริม สนับสนุนการเผยแพร่ความรู้และจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับ
การวิจัยและพัฒนาหลักสูตร การสอนและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน

                           (๑๓) สรุปรายงานผลการดำเนินงานและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์   

                 2.4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา  ศาสนาและวัฒนธรรม  ดำเนินการดังนี้

                           (๑) ศึกษาค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์เอกสารหลักสูตรในกลุ่มวิชาที่รับผิดชอบและเผยแพร่ผู้ที่เกี่ยวข้อง

                           (๒) ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบให้เหมาะสมกับท้องถิ่น

                           (๓) จัดประชุมอบรม สัมมนา เป็นวิทยากรและให้คำปรึกษาในกลุ่มสาระการเรียนรู้             ที่รับผิดชอบ

                           (๔) ผลิต เผยแพร่ เอกสารทางวิชาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                           (๕) วางแผน ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                           (๖) นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการใช้หลักสูตร กิจกรรมการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                           (๗) พัฒนารูปแบบ เทคนิค วิธีการ สื่อ เครื่องมือการนิเทศในกลุ่มสาระการเรียนรู้               ที่รับผิดชอบ

                           (๘) วิเคราะห์ วิจัย และรายงานผลในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                 ๒.5 ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือ
ที่ได้รับมอบหมาย

                           (๑) การปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของส่วนราชการในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                           - ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจ และบทบาทอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานในสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา เพื่อหาแนวทางปฏิบัติงานร่วมกัน

                           - เสนอแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้มีอำนาจพิจารณาตัดสินใจ

                           - ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและปฏิบัติงานร่วมกับ หรือ สนับสนุนหน่วยงานอื่นภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามที่ได้รับมอบหมาย

                           - ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งเผยแพร่ผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                           (๒) การปฏิบัติงานร่วมกับ หรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของส่วนราชการนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                           - ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจ และบทบาทอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อหาแนวทางปฏิบัติงานร่วมกัน

                           - เสนอแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้มีอำนาจพิจารณาตัดสินใจ

                           - ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและปฏิบัติงานร่วมกับ หรือ สนับสนุนหน่วยงานอื่นภายนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามที่ได้รับมอบหมาย

                           - ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งเผยแพร่ผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                     ๒.6  งาน/โครงการที่ได้รับมอบหมาย

                       (๑) งาน/โครงการตามนโยบาย     

                           - โครงการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑

                               - โครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา

                               - โครงการอารยเกษตร สืบสาน รักษา ต่อยอด ตามแนวพระราชดำริเศรษฐกิจพอเพียงด้วย “โคก หนอง นา แห่งน้ำใจและความหวัง”

                           (๒) งาน/โครงการตามภาระงาน และตามหลักสูตร

                               - การบูรณาการกรอบหลักสูตรระดับท้องถิ่น                     

                           (๓) โครงการที่เกี่ยวกับวิชาการอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย                                

๒.7 ศูนย์พัฒนาวิชาการที่รับผิดชอบศูนย์ประสานงานอำเภอบึงสามพัน

จำนวน 4 ศูนย์พัฒนาวิชาการ ได้แก่

                           (๑) ศูนย์พัฒนาวิชาการบึงสามพันหนองแจง       จำนวน    7  โรงเรียน  

                           (๒) ศูนย์พัฒนาวิชาการกันจุสระแก้ว               จำนวน   10  โรงเรียน

                           (3) ศูนย์พัฒนาวิชาการวังพิกุลศรีมงคลพญาวัง    จำนวน     9  โรงเรียน

                           (4) ศูนย์พัฒนาวิชาการซับสมอทอดซับไม้แดง    จำนวน     3  โรงเรียน

                                                                   รวมทั้งสิ้น   จำนวน   29  โรงเรียน

                     ๒.8 ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย

                     ๒.9 กรณีที่ไม่อยู่หรืออยู่แต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ นางรังสิมา  บัวทอง
ปฏิบัติหน้าที่แทน

                                3. นางมัทณา ชาวบ้านกร่าง ตำแหน่งเลขที่ 94 ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ ทำหน้าที่ในกลุ่มงานพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและกระบวนการเรียนรู้ ดังนี้

                     3.1 ประสาน ส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาเรียนรวม

                           (๑) รวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ รูปแบบการจัดการศึกษาเรียนรวม วิธีการจัดการเรียนการสอน และหลักสูตรเด็กที่มีความต้องการพิเศษ และส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษามีความพร้อมในการจัดการศึกษา สำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษในรูปแบบที่เหมาะสม

                           (2) ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษา ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจในการจัดการศึกษาพิเศษ ให้สามารถบริหารจัดการและวางแผนจัดการศึกษาสำหรับผู้เรียนตามประเภทเด็กที่มีความต้องการพิเศษ

                           (3) ส่งเสริมและประสานความร่วมมือระหว่างสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และชุมชนอย่างสม่ำเสมอเพื่อร่วมมือ ช่วยเหลือกันในการดำเนินการจัดการศึกษาสำหรับผู้เรียนตามประเภทเด็กที่มีความต้องการพิเศษ

                           (4) ประสานความร่วมมือและสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาพิเศษ เช่น สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัด ศูนย์การศึกษาพิเศษระดับเขตพื้นที่การศึกษา

                           (5) นิเทศ กำกับ ติดตาม ให้ความช่วยเหลือ แนะนำผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนเพื่อให้สามารถคัดกรองทางการศึกษา พัฒนาแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล ( Individualized Education Program : IEP ) และ แผนการสอนเฉพาะบุคคล(Individual Implementation Plan: IIP) เพื่อพัฒนาผู้เรียนเต็มศักยภาพตามความต้องการเฉพาะบุคคลตามประเภทเด็กที่มีความต้องการพิเศษให้มีคุณภาพ

                           (6) นิเทศ กำกับ ติดตาม ให้ความช่วยเหลือ แนะนำผู้ดูแลระบบของโรงเรียนใน การใช้ระบบบริหารจัดการข้อมูลเรียนรวม (โปรแกรม SET)

                           (7) ติดตาม ประเมินผล วิจัยการใช้หลักสูตรเด็กที่มีความต้องการพิเศษ การสอน และกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน

                     ๓.๒ ศูนย์พัฒนาวิชาการที่รับผิดชอบในศูนย์ประสานงานอำเภอวิเชียรบุรี  จำนวน 4 ศูนย์พัฒนาวิชาการ ได้แก่

                           (1) ศูนย์พัฒนาวิชาการสระประดู่                  จำนวน 7  โรงเรียน

                           (2) ศูนย์พัฒนาวิชาการซับสมบูรณ์ซับน้อย        จำนวน 8  โรงเรียน

                           (3) ศูนย์พัฒนาวิชาการวังใหญ่ภูน้ำหยด           จำนวน 9  โรงเรียน

                           (4) ศูนย์พัฒนาวิชาการพุเตยพุขาม                 จำนวน 7  โรงเรียน

                                                                     รวมทั้งสิ้น   จำนวน  31  โรงเรียน

                     3.4 ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย                      

                 3.5 กรณีที่ไม่อยู่หรืออยู่แต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ นางรังสิมา บัวทอง ปฏิบัติหน้าที่แทน

                 ๔. นางรังสิมา  บัวทอง  ตำแหน่งเลขที่ 96 ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะ ชำนาญการ
ทำหน้าที่ในกลุ่มงานพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและกระบวนการเรียนรู้ ดังนี้

                     ๔.๑ งานนิเทศการศึกษา

                     มีหน้าที่และความรับผิดชอบ

                     ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับงานวิชาการและงานนิเทศการศึกษา เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอนให้ได้มาตรฐาน ศึกษา ค้นคว้าทางวิชาการและวิเคราะห์ วิจัย ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล
เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีคุณภาพการปฏิบัติงาน ดังนี้

                     คุณภาพการปฏิบัติงาน

                     มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการนิเทศการศึกษา หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ การวัดการประเมินผลการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษา ระบบดูแลช่วยเหลือครูและผู้เรียน เครื่องมือ         การนิเทศ ในระดับพื้นฐาน มีความสามารถในการวางแผนการนิเทศการศึกษา งานวิชาการ งานติดตาม ตรวจสอบ  ประเมินผลการจัดการศึกษาและจัดทำรายงาน โดยแสดงให้เห็นว่ามีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ปรับประยุกต์ ระเบียบแบบแผนการนิเทศที่กำหนดให้เหมาะสมกับสถานการณ์และมีการพัฒนาตนและพัฒนาวิชาชีพ มีทักษะในการนิเทศที่คำนึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล ส่งผลให้ครูและบุคลากรในสถานศึกษาสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเป็นผู้มีวินัย คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ

                     ๔.๒ งานประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและพัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ดังนี้

                           (๑) วิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารและแหล่งข้อมูลต่าง ๆ อาทิ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย คู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ทิศทางการพัฒนาการศึกษาปฐมวัย รวมทั้งศึกษา
สภาพปัญหา บริบททางสังคม และความต้องการของท้องถิ่น ชุมชน แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงในอนาคต

                           (๒) ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาผู้บริหารโรงเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษาให้มีความรู้ ความเข้าใจในการพัฒนาและใช้หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย

                           (๓) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษาจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ด้วยกระบวนการทำงานแบบมีส่วนร่วม และนำไปใช้จัดประสบการณ์และกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนทุกด้านอย่างสมดุล

                           (๔) ส่งเสริมและประสานความร่วมมือระหว่างสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา และชุมชนอย่างสม่ำเสมอเพื่อร่วมมือ ช่วยเหลือกันในการพัฒนา และใช้หลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย

                           (๕) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นที่จัดการศึกษาปฐมวัย เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กรมการศาสนา สำนักงานตำรวจแห่งชาติ กระทรวงสาธารณสุข เป็นต้น

                           (6) นิเทศ กำกับ ติดตาม ให้คาแนะนำ ช่วยเหลือผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอนเพื่อให้เกิดการปรับปรุง/พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัยให้มีคุณภาพ

                           (7) ตรวจสอบ และประเมินคุณภาพหลักสูตร

                           (8) สรุปรายงาน และเผยแพร่ผลการใช้/การพัฒนาหลักสูตร

                     ๔.๓ ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือ
ที่ได้รับมอบหมาย

                           (๑) การปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของส่วนราชการในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                           - ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจ และบทบาทอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อหาแนวทางปฏิบัติงานร่วมกัน

                           - เสนอแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้มีอำนาจพิจารณาตัดสินใจ

                           - ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและปฏิบัติงานร่วมกับ หรือ สนับสนุนหน่วยงานอื่นภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามที่ได้รับมอบหมาย

                           - ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งเผยแพร่ผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                           (๒) การปฏิบัติงานร่วมกับ หรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของส่วนราชการนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                           - ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจ และบทบาทอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อหาแนวทางปฏิบัติงานร่วมกัน

                           - เสนอแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้มีอำนาจพิจารณาตัดสินใจ

                           - ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและปฏิบัติงานร่วมกับ หรือ สนับสนุนหน่วยงานอื่นภายนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามที่ได้รับมอบหมาย

                           - ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งเผยแพร่ผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                     4.4 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ ได้แก่ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ดำเนินการดังนี้

                           (1) ศึกษาค้นคว้า  รวบรวม วิเคราะห์เอกสารหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ที่รับผิดชอบและเผยแพร่ผู้ที่เกี่ยวข้อง

                           (2) ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ที่รับผิดชอบ

ให้เหมาะสมกับท้องถิ่น

                           (3) จัดประชุมอบรม  สัมมนา เป็นวิทยากรและให้คำปรึกษาในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ที่รับผิดชอบ

                           (4) ผลิต เผยแพร่  เอกสารทางวิชาการในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ที่รับผิดชอบ

                           (5) วางแผน ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
ที่รับผิดชอบ

                           (6) นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการใช้หลักสูตร กิจกรรมการเรียนการสอนในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ที่รับผิดชอบ

                           (7) พัฒนารูปแบบ เทคนิค วิธีการ สื่อ เครื่องมือการนิเทศในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยที่รับผิดชอบ

                           (8) วิเคราะห์ วิจัย และรายงานผลในหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ที่รับผิดชอบ

                           (๙) กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ ได้แก่ กลุ่มสาระศิลปะ(นาฏศิลป์)  กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมแนะแนว

                     4.5 งาน /โครงการที่ได้รับมอบหมาย

                           (1) งาน/โครงการตามนโยบาย

                           - โครงการประเมินคุณภาพผู้เรียน (NT) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

                           (2) งาน/โครงการตามภาระงาน และตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย

                           - โครงการพัฒนาการจัดประสบการณ์และส่งเสริมการศึกษาปฐมวัย

                                     s กิจกรรมวิทยาการคำนวณระดับอนุบาล

                           - โครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย

                           - โครงการประเมินพัฒนาการโรงเรียนศูนย์เด็กต้นแบบ/เครือข่าย และประเมินนักเรียนที่จบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย                              

                           (3) โครงการที่เกี่ยวกับวิชาการอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย

                           - โครงการสนับสนุนการพัฒนาครูและโรงเรียนยกระดับคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง รุ่นที่ 2 TSQP โดยมหาวิทยาลัยนเรศวรร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์

                           - โครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้ด้านการอ่านการเขียนและการวิเคราะห์ของนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน กับมหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์

                     4.6 ศูนย์พัฒนาวิชาการที่รับผิดชอบ ในศูนย์ประสานงานวิชาการอำเภอวิเชียรบุรี

จำนวน  3 ศูนย์พัฒนาวิชาการ ได้แก่

                           (๑) ศูนย์พัฒนาวิชาการบ่อรัง             จำนวน 8 โรงเรียน

                           (๒) ศูนย์พัฒนาวิชาการท่าโรงโคกปรง   จำนวน   11  โรงเรียน

                           (3) ศูนย์พัฒนาวิชาการน้ำร้อนยางสาว   จำนวน  11  โรงเรียน

                                                                       รวมทั้งสิ้น   จำนวน  30 โรงเรียน

 

                     ๔.7 ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย

                     4.8 กรณีที่ไม่อยู่หรืออยู่แต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ นางมัทณา ชาวบ้านกร่าง ปฏิบัติหน้าที่แทน  

 

กลุ่มงานวัดและประเมินผลการศึกษา

              5. นางมัทณา ชาวบ้านกร่าง ตำแหน่งเลขที่ 94 ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะ ชำนาญการ พิเศษ ทำหน้าที่หัวหน้ากลุ่มงานวัดและประเมินผลการศึกษา ดังนี้

                     5.1 งานวัดและประเมินผลการศึกษาระดับชาติ

                     รับผิดชอบงานวิจัย พัฒนา ส่งเสริม ติดตาม ตรวจสอบและประเมินเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลการศึกษาระดับชาติ

                           (๑) ศึกษาหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการวัดผลและประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับชาติ จัดทำแผนรองรับการประเมินระดับชาติ

                           (๒) ประสานงานกับ สถาบันทดสอบการศึกษาแห่งชาติ (องค์การมหาชน)  ดำเนินการตามนโยบายและแนวทางปฏิบัติของ สทศ. โดยเฉพาะการดำเนินงานตามมาตรฐานการบริหารการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านมาตรฐานการทดสอบและบุคลากรด้านการสอบ

                           (๓) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรในสถานศึกษาเกี่ยวกับการวัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนที่ต้องการวัดผ่านการจัดการทดสอบในระดับชาติ โดยมีสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) เป็นผู้ดำเนินการออกข้อสอบและจัดสอบทั่วประเทศ

                           (๔) ดำเนินการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่สมัครใจเข้ารับการทดสอบตามแนวทางตามมาตรฐานการบริหารการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ

                           (๕) รายงานผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และเผยแพร่ต่อสถานศึกษาเพื่อให้สถานศึกษานำผลการสอบไปใช้ปรับปรุงคุณภาพการเรียนการสอนของโรงเรียน และนำผลการทดสอบไปใช้ในวัตถุประสงค์อื่น

                           (๖) นำผลผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียนมาใช้เป็นข้อมูลในการวางแผน ยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                     5.2 ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือ
ที่ได้รับมอบหมาย

                           (๑) การปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของส่วนราชการในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                           - ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจ และบทบาทอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานในสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา เพื่อหาแนวทางปฏิบัติงานร่วมกัน

                           - เสนอแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้มีอำนาจพิจารณาตัดสินใจ

                           - ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและปฏิบัติงานร่วมกับ หรือ สนับสนุนหน่วยงานอื่นภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามที่ได้รับมอบหมาย

                           - ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งเผยแพร่ผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                           (๒) การปฏิบัติงานร่วมกับ หรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของส่วนราชการนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                               - ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจ และบทบาทอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อหาแนวทางปฏิบัติงานร่วมกัน

                           - เสนอแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้มีอำนาจพิจารณาตัดสินใจ

                           - ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและปฏิบัติงานร่วมกับ หรือ สนับสนุนหน่วยงานอื่นภายนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามที่ได้รับมอบหมาย

                           - ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งเผยแพร่ผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                 5.3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ ได้แก่ กลุ่มสาระการงานอาชีพ กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ กลุ่มสาระสุขศึกษาและพละศึกษา ดำเนินการดังนี้

                           (๑) ศึกษาค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์เอกสารหลักสูตรในกลุ่มวิชาที่รับผิดชอบและเผยแพร่ผู้ที่เกี่ยวข้อง

                           (๒) ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบให้เหมาะสมกับท้องถิ่น

                           (๓) จัดประชุมอบรม สัมมนา เป็นวิทยากรและให้คำปรึกษาในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่รับผิดชอบ

                           (๔) ผลิต เผยแพร่ เอกสารทางวิชาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                           (๕) วางแผน ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                           (๖) นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการใช้หลักสูตร กิจกรรมการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                           (๗) พัฒนารูปแบบ เทคนิค วิธีการ สื่อ เครื่องมือการนิเทศในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                           (๘) วิเคราะห์ วิจัย และรายงานผลในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                     4.4 งาน /โครงการที่ได้รับมอบหมาย

                           - โครงการการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน(O-NET) 

                           - โครงการโรงเรียนคุณธรรม สพฐ. 

                       - โครงการยกระดับการศึกษาเรียนรวม

                     4.5 งาน/โครงการตามภาระงาน  และกลุ่มสาระการเรียนรู้

                           - การจัดการเรียนการสอนแบบเรียนร่วม

                           - โครงการเพศวิถีศึกษา

                     4.6 ภาระงานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย

                           - การดูแลระบบ SCHOOL MISS ของเขตพื้นที่การศึกษา

                           - งานวัดและประเมินผลการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานแบบครอบครัว (Home School)

                           - Coaching and Mentoring ครูผู้ช่วยวิชาเอกคณิตศาสตร์ วิชาเอกพละศึกษา วิชาเอกการงานอาชีพ วิชาเอกการประถมศึกษา

                     5.7 ศูนย์พัฒนาวิชาการที่รับผิดชอบในศูนย์ประสานงานอำเภอวิเชียรบุรี  จำนวน 4 ศูนย์พัฒนาวิชาการ ได้แก่

                           (1) ศูนย์พัฒนาวิชาการสระประดู่                  จำนวน 7  โรงเรียน

                           (2) ศูนย์พัฒนาวิชาการซับสมบูรณ์ซับน้อย        จำนวน 8  โรงเรียน

                           (3) ศูนย์พัฒนาวิชาการวังใหญ่ภูน้ำหยด           จำนวน 9  โรงเรียน

                           (4) ศูนย์พัฒนาวิชาการพุเตยพุขาม                 จำนวน 7  โรงเรียน

                                                                     รวมทั้งสิ้น   จำนวน  31  โรงเรียน

                     5.8 กรณีที่ไม่อยู่หรืออยู่แต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้  นางรังสิมา บัวทอง ปฏิบัติหน้าที่แทน 

 

           6.1 งานวัดผลและประเมินผลการศึกษา : ระดับเขตพื้นที่การศึกษา

                   นางรังสิมา  บัวทอง  ตำแหน่งเลขที่ 96 ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะ ชำนาญการ รับผิดชอบงานวิจัย พัฒนา ส่งเสริม ติดตาม ตรวจสอบและประเมินเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลการศึกษาระดับเขตพื้นที่การศึกษา

                           (๑) ศึกษาหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการวัดผลและประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา

                           (๒) ประสานความร่วมมือระหว่างสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา

                           (๓) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรในสถานศึกษาเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา

                           (๔) จัดทำเครื่องมือและคลังข้อสอบที่เป็นมาตรฐานสำหรับใช้ประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษาและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

                           (๕) นิเทศ ติดตามการดำเนินการประเมินคุณภาพของผู้เรียนของสถานศึกษาในสังกัดในรูปแบบของคณะกรรมการ

                           (๖) ดำเนินการประเมินผลคุณภาพนักเรียนและนำผลไปวิจัย พัฒนาและประเมิน
การดำเนินงานด้านวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ระดับเขตพื้นที่การศึกษาเพื่อนำผลมาใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการศึกษา

                           (๗) สรุป รายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา
ต่อหน่วยงานต้นสังกัดและเผยแพร่ต่อสถานศึกษาเพื่อให้สถานศึกษานำไปใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนา
คุณภาพผู้เรียน

                           (๘) นำผลการวิจัย การประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับเขตพื้นที่การศึกษามาใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                     6.2 ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือ
ที่ได้รับมอบหมาย

                           (๑) การปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของส่วนราชการในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                           - ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจ และบทบาทอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานในสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา เพื่อหาแนวทางปฏิบัติงานร่วมกัน

                           - เสนอแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้มีอำนาจพิจารณาตัดสินใจ

                           - ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและปฏิบัติงานร่วมกับ หรือ สนับสนุนหน่วยงานอื่นภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามที่ได้รับมอบหมาย

                           - ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งเผยแพร่ผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                           (๒) การปฏิบัติงานร่วมกับ หรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของส่วนราชการนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                               - ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจ และบทบาทอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อหาแนวทางปฏิบัติงานร่วมกัน

                           - เสนอแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้มีอำนาจพิจารณาตัดสินใจ

                           - ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและปฏิบัติงานร่วมกับ หรือ สนับสนุนหน่วยงานอื่นภายนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามที่ได้รับมอบหมาย

                           - ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งเผยแพร่ผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง                        

                     6.3 กรณีที่ไม่อยู่หรืออยู่แต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ นางมัทณา ชาวบ้านกร่าง
ปฏิบัติหน้าที่แทน

                         7.1 งานวัดผลและประเมินผลการศึกษา : ระดับสถานศึกษา

                 นางมัทณา ชาวบ้านกร่าง ตำแหน่งเลขที่ 94 ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะ   ชำนาญการพิเศษ รับผิดชอบงานวิจัย พัฒนา ส่งเสริม ติดตาม ตรวจสอบและประเมินเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลการศึกษาระดับสถานศึกษา

                           (๑) ศึกษาหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการวัดผลและประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับสถานศึกษา

                           (๒) ประสานความร่วมมือระหว่างสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับเขตพื้นที่การศึกษา

                           (๓) เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจให้กับผู้บริหารสถานศึกษา ครูและบุคลากรในสถานศึกษาเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับสถานศึกษา

                           (๔) จัดทำเครื่องมือและคลังข้อสอบที่เป็นมาตรฐานสำหรับใช้ประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับสถานศึกษาและตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

                           (๕) นิเทศ ติดตามการดำเนินการประเมินคุณภาพของผู้เรียนของสถานศึกษาในสังกัดในรูปแบบของคณะกรรมการ

                           (๖) ดำเนินการประเมินผลคุณภาพนักเรียนและนำผลไปวิจัย พัฒนาและประเมิน
การดำเนินงานด้านวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ระดับสถานศึกษาเพื่อนำผลมาใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการศึกษา

                           (๗) สรุป รายงานผลการประเมินคุณภาพผู้เรียนระดับสถานศึกษาต่อหน่วยงาน
ต้นสังกัดและเผยแพร่ต่อสถานศึกษาเพื่อให้สถานศึกษานำไปใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

                           (๘) นำผลการวิจัย การประเมินคุณภาพผู้เรียนในระดับสถานศึกษามาใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                     7.2 ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือ
ที่ได้รับมอบหมาย

                           (๑) การปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของส่วนราชการในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                           - ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจ และบทบาทอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานในสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา เพื่อหาแนวทางปฏิบัติงานร่วมกัน

                           - เสนอแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้มีอำนาจพิจารณาตัดสินใจ

                           - ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและปฏิบัติงานร่วมกับ หรือ สนับสนุนหน่วยงานอื่นภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามที่ได้รับมอบหมาย

                           - ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งเผยแพร่ผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                           (๒) การปฏิบัติงานร่วมกับ หรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของส่วนราชการนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                       - ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจ และบทบาทอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อหาแนวทางปฏิบัติงานร่วมกัน

                           - เสนอแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้มีอำนาจพิจารณาตัดสินใจ

                           - ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและปฏิบัติงานร่วมกับ หรือ สนับสนุนหน่วยงานอื่นภายนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามที่ได้รับมอบหมาย

                           - ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งเผยแพร่ผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง        

กลุ่มงานส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

                 9. นางปิยะวรรณ์  เชิญทอง  ตำแหน่งเลขที่ 104 ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ ทำหน้าที่ในกลุ่มงานส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา  ดังนี้

                     9.๑ งานนิเทศการศึกษา

                     มีหน้าที่และความรับผิดชอบ

                     ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับงานวิชาการและงานนิเทศการศึกษา เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน ให้ได้มาตรฐาน ศึกษา ค้นคว้าทางวิชาการและวิเคราะห์ วิจัย ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล เพื่อพัฒนา การจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีคุณภาพ         การปฏิบัติงาน ดังนี้

                     คุณภาพการปฏิบัติงาน

                     มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการนิเทศการศึกษา หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ การวัด   การประเมินผลการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษา ระบบดูแลช่วยเหลือครูและนักเรียน เครื่องมือ การนิเทศ ในระดับพื้นฐาน มีความสามารถในการวางแผนการนิเทศการศึกษา งานวิชาการ งานติดตาม ตรวจสอบ  ประเมินผลการจัดการศึกษาและจัดทำรายงาน โดยแสดงให้เห็นว่ามีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ปรับประยุกต์ ระเบียบแบบแผนการนิเทศที่กำหนดให้เหมาะสมกับสถานการณ์และมีการพัฒนาตนและพัฒนาวิชาชีพ มีทักษะในการนิเทศที่คำนึงถึงความแตกต่างของครู ส่งผลให้ครูและบุคลากรในสถานศึกษาสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เป็นผู้มีวินัย คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ

                     9.๒ รับผิดชอบงานพัฒนาส่งเสริมมาตรฐานการศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา

                           (๑) ศึกษา วิเคราะห์ หลักเกณฑ์ ระเบียบมาตรฐาน แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับ
การประกันคุณภาพภายในสถานศึกษามาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานการศึกษาปฐมวัย มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาเพื่อการประเมินคุณภาพภายนอกของ สมศ.ความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น และมาตรฐานของของหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

                           (2) ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา ดำเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ

                           - สร้างความตระหนัก ความรู้ ความเข้าใจให้บุคลากรเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษาเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาตามกฎกระทรวง ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2553 และประกาศคณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เรื่องกำหนดหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายใน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2554 และที่เพิ่มเติม

                           - ส่งเสริมสนับสนุน ให้สถานศึกษาจัดทำมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและนำไปใช้ในการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

                               - กำหนดแนวปฏิบัติในการจัดทำรายงานประจำปีที่เป็นรายงานการประเมินคุณภาพภายใน

                           - รวบรวม และสังเคราะห์จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา จากรายงานการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา

                           - จัดทำสรุปรายงานผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา ระดับ
เขตพื้นที่การศึกษา

                           (3) นิเทศ ติดตามการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ระดับเขตพื้นที่การศึกษา

                               - วิเคราะห์และสรุปผล การรายงานการประเมินคุณภาพภายใน และผล
การประเมินคุณภาพภายนอก

                               - ดำเนินการตามยุทธศาสตร์ มาตรการ และการปฏิบัติที่กำหนดตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี

                           - นิเทศ ติดตามผลการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา 

                           - จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ นำเสนอผลเพื่อแสดง จุดเด่น จุดควรพัฒนา       

                           (4) ประเมินผลการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา   

                           - ประเมินผลการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามระบบประกันคุณภาพการศึกษา

                           - วิเคราะห์ผลการประเมิน และนำผลมาใช้เพื่อวางแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

                           (5) สรุป รายงานผลการดำเนินการ จัดทำเอกสารเผยแพร่ และนำผลการประเมินไปวางแผนปรับปรุงการดำเนินงาน   

                     9.๓ รับผิดชอบงานวิจัยและพัฒนารูปแบบ เทคนิค วิธีการประกันคุณภาพการศึกษา

                           (๑) ศึกษา วิจัย เกี่ยวกับรูปแบบ เทคนิค และวิธีการ ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และการประกันคุณภาพการศึกษา

                           - ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ นวัตกรรมที่เกี่ยวกับ รูปแบบ เทคนิค และวิธีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ

                               - ศึกษา วิเคราะห์ สภาพปัจจุบันปัญหา และความต้องการจำเป็น การดำเนินงานการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

                           - จัดทำแผนงาน/โครงการ ศึกษาวิจัย รูปแบบ เทคนิค และวิธีการเกี่ยวกับการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

                           - ดำเนินการศึกษา วิจัย ตามแผนงาน/โครงการศึกษาวิจัยที่กำหนด

                           - สรุปรายงานผลการวิจัย        

                           (๒) ส่งเสริม สนับสนุนและ/หรือร่วมกับสถานศึกษาดำเนินการวิจัย เกี่ยวกับ รูปแบบ เทคนิค และวิธีการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และการประกันคุณภาพการศึกษา

                           - ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา ศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ นวัตกรรมที่เกี่ยวกับรูปแบบ เทคนิค และวิธีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ

                           - ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษา วิเคราะห์ผลการดำเนินงาน จากรายงานประเมินคุณภาพภายใน รายงานประเมินคุณภาพภายนอก นำผลไปใช้เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา

                               - ส่งเสริม สนับสนุน และร่วมจัดทำแผนงาน/โครงการศึกษาวิจัย เกี่ยวกับระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

                           - ส่งเสริม สนับสนุน และร่วมดำเนินการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ การพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา

                           (๓) นิเทศ ติดตาม การดำเนินการวิจัยและการนำผลการวิจัยมาใช้ในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และการประกันคุณภาพการศึกษา

                           - นิเทศ ติดตาม กำกับการดำเนินการวิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

                           - ส่งเสริม สนับสนุนให้สถานศึกษานำผลการศึกษาวิจัยมาใช้ในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

                           (๔) ประเมินผลการดำเนินงาน เพื่อคัดเลือกรูปแบบ เทคนิค และวิธีการ ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และการประกันคุณภาพการศึกษา ที่มีคุณภาพ

                               - วิเคราะห์ ประเมินผลคุณภาพการดำเนินงาน ตามรูปแบบ เทคนิค วิธีการ
ในการดำเนินงาน เพื่อคัดเลือกรูปแบบ เทคนิค วิธีการที่มีประสิทธิภาพ ในการพัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และการประกันคุณภาพ

                           - พิจารณาปรับปรุงแก้ไข รูปแบบ เทคนิค วิธีการที่ไม่ประสบผลสำเร็จ

                           (๕) สรุป รายงานผล รวบรวมและเผยแพร่ผลการวิจัยเกี่ยวกับการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา และการประกันคุณภาพการศึกษา

                           - สรุปรายงานผลการดำเนินงานวิจัย

                           - จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้นำเสนอผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ

                           - เผยแพร่รายงานผลการวิจัย

                           - นำผลการวิจัยไปใช้เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

                     9.4 รับผิดชอบงานประสานงานการประเมินคุณภาพภายนอก

                           (๑) ประสานงานกับสถานศึกษาในสังกัด เพื่อเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ.การส่งข้อมูล เอกสารเพิ่มเติมเพื่อขอรับการประเมิน รวมทั้งติดตามกำหนดการประเมินคุณภาพภายนอกของสถานศึกษาในสังกัดตามรอบการประเมินจาก สมศ.

                           (๒) ส่งเสริม สนับสนุนสถานศึกษาให้นำผลการประเมินคุณภาพภายนอกจาก สมศ.ไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา ร่วมปรับแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อขอรับการประเมิน

                           (๓) ส่งเสริม สนับสนุนพัฒนาบุคลากรเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาให้มีความรู้ความเข้าใจระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา กับหลักเกณฑ์วิธีการประเมินคุณภาพภายนอก จาก สมศ. ในทุกระดับการศึกษา

                           (๔) นิเทศ ติดตาม กำกับ ให้สถานศึกษาดำเนินการเกี่ยวกับจัดการศึกษา
การเตรียมความพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอกทุกแห่งในเขตพื้นที่ ให้ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ 

                           (๕) ประเมินความพร้อมของสถานศึกษาในสังกัดเพื่อพร้อมรับการประเมินคุณภาพภายนอก

                           (๖) แต่งตั้งคณะกรรมการร่วมรับฟังรายงานด้วยวาจาจาก สมศ. 

                           (๗) รวบรวมผลการประเมิน จัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศการประเมินคุณภาพภายนอกให้เป็นปัจจุบัน สะดวกสำหรับการนำผลประเมินคุณภาพการศึกษา ไปใช้ในการวางแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

                           (๘) จัดทำเอกสารรายงาน  สังเคราะห์ผลการประเมินคุณภาพภายนอก เผยแพร่และนำไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

                     9.5 ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

                           (๑) การปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของส่วนราชการในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                           - ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจ และบทบาทอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานในสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา เพื่อหาแนวทางปฏิบัติงานร่วมกัน

                           - เสนอแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้มีอำนาจพิจารณาตัดสินใจ

                           - ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและปฏิบัติงานร่วมกับ หรือ สนับสนุนหน่วยงานอื่นภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามที่ได้รับมอบหมาย

                           - ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งเผยแพร่ผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                           (๒) การปฏิบัติงานร่วมกับ หรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของส่วนราชการนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                           - ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจ และบทบาทอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อหาแนวทางปฏิบัติงานร่วมกัน

                           - เสนอแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้มีอำนาจพิจารณาตัดสินใจ

                           - ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและปฏิบัติงานร่วมกับ หรือ สนับสนุนหน่วยงานอื่นภายนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามที่ได้รับมอบหมาย

                           - ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งเผยแพร่ผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                         9.6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รับผิดชอบในสาระที่ 1 สาระที่ 2 และสาระที่ 3 ดำเนินการดังนี้

                           (๑) ศึกษาค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์เอกสารหลักสูตรในกลุ่มวิชาที่รับผิดชอบและเผยแพร่ผู้ที่เกี่ยวข้อง

                           (๒) ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบให้เหมาะสมกับท้องถิ่น

                           (๓) จัดประชุมอบรม สัมมนา เป็นวิทยากรและให้คำปรึกษาในกลุ่มสาระการเรียนรู้         ที่รับผิดชอบ

                           (๔) ผลิต เผยแพร่ เอกสารทางวิชาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                           (๕) วางแผน ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                           (๖) นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการใช้หลักสูตร กิจกรรมการเรียนการสอน

ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                           (๗) พัฒนารูปแบบ เทคนิค วิธีการ สื่อ เครื่องมือการนิเทศในกลุ่มสาระการเรียนรู้              ที่รับผิดชอบ

                           (๘) วิเคราะห์ วิจัย และรายงานผลในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                     9.7 งาน / โครงการที่ได้รับมอบหมาย

                           (๑) งาน/โครงการตามนโยบาย

                           - โรงเรียนคุณภาพระดับประถมศึกษา

                           (๒) งาน/โครงการตามภาระงาน  และกลุ่มสาระการเรียนรู้

                               - โรงเรียนคุณภาพวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ตามมาตรฐาน สสวท. (SMT)

                           - วิทยาศาสตร์พลังสิบ

                               - บ้านนักวิทยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย ระดับประถม

                           - สะเต็มศึกษา (STEM Education)

                     9.๗ โครงการที่เกี่ยวกับวิชาการอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย

                     9.๘ ศูนย์พัฒนาวิชาการที่รับผิดชอบ ในศูนย์ประสานงานอำเภอหนองไผ่ จำนวน 3 ศูนย์พัฒนาวิชาการ ได้แก่

                           (๑) ศูนย์พัฒนาวิชาการวังโบสถ์บ่อไทย            จำนวน  12  โรงเรียน

                           (๒) ศูนย์พัฒนาวิชาการหนองไผ่                    จำนวน 5  โรงเรียน

                           (3) ศูนย์พัฒนาวิชาการท่าด้วง                      จำนวน 5  โรงเรียน

                                                                   รวมทั้งสิ้นจำนวน  22  โรงเรียน                          9.๙ ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย

                     9.๑๐ กรณีที่ไม่อยู่หรืออยู่แต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ นางปาริชาติ  เข่งแก้ว ปฏิบัติหน้าที่แทน

กลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาสื่อนวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา

              10. นางกัญจนา มีศิริ  ตำแหน่งเลขที่ 93  ตำแหน่ง ศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ ทำหน้าที่หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา ดังนี้

                     10.๑ งานนิเทศการศึกษา

                     มีหน้าที่และความรับผิดชอบ

                     ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับงานวิชาการและงานนิเทศการศึกษา เพื่อปรับปรุงการเรียน
การสอนให้ได้มาตรฐาน ศึกษา ค้นคว้าทางวิชาการและวิเคราะห์ วิจัย ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย
โดยมีคุณภาพการปฏิบัติงาน ดังนี้

                     คุณภาพการปฏิบัติงาน

                     มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการนิเทศการศึกษา หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ การวัด           การประเมินผลการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษา ระบบดูแลช่วยเหลือครูและนักเรียน เครื่องมือ          การนิเทศในระดับพื้นฐาน มีความสามารถในการวางแผนการนิเทศการศึกษา งานวิชาการ งานติดตาม ตรวจสอบ  ประเมินผลการจัดการศึกษาและจัดทำรายงาน โดยแสดงให้เห็นว่ามีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ปรับประยุกต์ ระเบียบแบบแผนการนิเทศที่กำหนดให้เหมาะสมกับสถานการณ์และมีการพัฒนาตนและพัฒนาวิชาชีพ มีทักษะ ในการนิเทศที่คำนึงถึงความแตกต่างของครู ส่งผลให้ครูและบุคลากรในสถานศึกษาสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเป็นผู้มีวินัย คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ

                     10.๒ งานส่งเสริม พัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

                           (๑) ศึกษาความต้องการสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาในการจัดการเรียนรู้

                           (๒) ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาผลิต พัฒนา และใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาสำหรับการจัดการเรียนรู้

                           (๓) ดำเนินการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา รวมทั้งสื่อต้นแบบของหน่วยงาน เพื่อสนับสนุนช่วยเหลือตามความต้องการของสถานศึกษา

                           (๔) ส่งเสริมและพัฒนาครู ผู้บริหารสถานศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถ
ในการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

                           (๕) จัดระบบบริการสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาเพื่อสนับสนุนช่วยเหลือตามความต้องการของสถานศึกษา

                           (๖) นิเทศ ติดตามและประเมินผลการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี
ทางการศึกษา เพื่อนำผลมาปรับปรุงและพัฒนาให้มีประสิทธิภาพ

                           (๗) ประสานความร่วมมือกับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน ในการส่งเสริมการใช้สื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

                           (๘) เผยแพร่ประชาสัมพันธ์การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

                         10.๓ งานศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัยการพัฒนาสื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา                   (๑) ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัยเกี่ยวกับการพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

                           (๒) วิจัยเพื่อพัฒนาสื่อต้นแบบ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาให้สอดคล้องกับความต้องการของสถานศึกษา

                           (๓) ส่งเสริมสนับสนุนให้สถานศึกษาที่ดำเนินการศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ วิจัย
ได้มีโอกาสแลกเปลี่ยน ผลการวิเคราะห์ วิจัย นำไปใช้และเผยแพร่สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

                           (๔) จัดให้มีกระบวนการจัดการความรู้ เพื่อการเผยแพร่ นำเสนอผลงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยี

                           (๕) ประเมินระบบการพัฒนาส่งเสริมการใช้สื่อ นวัตกรรม เพื่อการเรียนรู้ปรับปรุงแก้ไข และพัฒนารูปแบบการใช้สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาในการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอนในโรงเรียนตามเกณฑ์มาตรฐานตัวชี้วัด

                           (๖) สรุปรายงานผลการดำเนินงานและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์

                     10.๔ ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือ
ที่ได้รับมอบหมาย

                           (๑) การปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของส่วนราชการในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                       - ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจ และบทบาทอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อหาแนวทางปฏิบัติงานร่วมกัน

                           - เสนอแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้มีอำนาจพิจารณาตัดสินใจ

                           - ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและปฏิบัติงานร่วมกับ หรือ สนับสนุนหน่วยงานอื่นภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามที่ได้รับมอบหมาย

                           - ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งเผยแพร่ผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                           (๒) การปฏิบัติงานร่วมกับ หรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของส่วนราชการนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                           - ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจ และบทบาทอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อหาแนวทางปฏิบัติงานร่วมกัน

                           - เสนอแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้มีอำนาจพิจารณาตัดสินใจ

                           - ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและปฏิบัติงานร่วมกับ หรือ สนับสนุนหน่วยงานอื่นภายนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามที่ได้รับมอบหมาย

                           - ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งเผยแพร่ผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                     10.๕ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ  ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะและกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สาระที่ 4) ดำเนินการดังนี้

                           (๑) ศึกษาค้นคว้า  รวบรวม วิเคราะห์เอกสารหลักสูตรในกลุ่มวิชาที่รับผิดชอบและเผยแพร่ผู้ที่เกี่ยวข้อง

                           (๒) ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบให้เหมาะสมกับท้องถิ่น

                       (๓) จัดประชุมอบรม สัมมนา เป็นวิทยากรและให้คำปรึกษาในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ที่รับผิดชอบ

                           (๔) ผลิต เผยแพร่ เอกสารทางวิชาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                           (๕) วางแผน ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                           (๖) นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการใช้หลักสูตร กิจกรรมการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                           (๗) พัฒนารูปแบบ เทคนิค วิธีการ สื่อ เครื่องมือการนิเทศในกลุ่มสาระการเรียนรู้      ที่รับผิดชอบ

                           (๘) วิเคราะห์ วิจัย และรายงานผลในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                     10.๖ งาน/โครงการที่ได้รับมอบหมาย

                           (๑) งาน/โครงการตามนโยบาย

                           - การพัฒนากิจกรรมการเรียนการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม (DLTV)

                           - การพัฒนาสื่อ การจัดการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ  (DLIT)

                           - การจัดการเรียนการสอนวิทยาการคำนวณเพื่อพัฒนาทักษะ Coding 

                                 - การจัดการเรียนการสอนทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

                                 - การจัดการเรียนการสอน Active Learning 

                               - การจัดการเรียนการสอน โรงเรียนขนาดเล็ก

                               - โครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศึกษา(โครงการโรงเรียนสุจริต)

                                 - การขับเคลื่อน พัฒนาสื่อการเรียนการสอน (OBEC Content Center)

                           - โครงการโรงเรียนคอนเน็กซ์อีดี (CONNEXT ED)

                           (๒) งาน/โครงการตามภาระงานและกลุ่มสาระการเรียนรู้

                          - วิทยาการคำนวณ

                               - กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ  (ทัศนศิลป์)                             

                                 - คอมพิวเตอร์/เทคโนโลยี

                           - สื่อนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการเรียนการสอน

                       - วิจัยเพื่อพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีทางการศึกษา

                       - ส่งเสริมอัจฉริยภาพเทคโนโลยีทางการศึกษา

                             - รายการพฤหัสบดีที่นี่ PBN3 Media Chanel

                           - การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและส่งเสริมคุณภาพผู้เรียน

โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Technology)                                     

                           (3) โครงการที่เกี่ยวกับวิชาการอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย   

                     10.๗ ศูนย์พัฒนาวิชาการที่รับผิดชอบ ในศูนย์ประสานงานอำเภอศรีเทพ

จำนวน 4 ศูนย์พัฒนาวิชาการ ได้แก่

                           (1) ศูนย์พัฒนาวิชาการศรีเทพหนองย่างทอย       จำนวน 10  โรงเรียน

                           (2) ศูนย์พัฒนาวิชาการคลองกระจัง                          จำนวน 8  โรงเรียน

                           (3) ศูนย์พัฒนาวิชาการนาสนุ่น                               จำนวน    7  โรงเรียน

                           (4) ศูนย์พัฒนาวิชาการโคกสะอาดสระกรวดประดู่งาม  จำนวน 13  โรงเรียน

                                                                     รวมทั้งสิ้นจำนวน  38  โรงเรียน               

9.๙ ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย

                     9.๑๐ กรณีที่ไม่อยู่หรืออยู่แต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ นางปาริชาติ  เข่งแก้ว ปฏิบัติหน้าที่แทน

กลุ่มงานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลและการจัดการศึกษา

                     นางสาวพัชรินทร์  วาวงศ์มูล  ตำแหน่งเลขที่ 111 ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะชำนาญการพิเศษ ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้ากลุ่มงานนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ปฏิบัติหน้าที่แทนผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ทำหน้าที่ในกลุ่มงานนิเทศติดตามและประเมินผลระบบบริหารและการจัดการศึกษา ดังนี้   

                     11.๑ งานนิเทศการศึกษา

                     มีหน้าที่และความรับผิดชอบ

                     ปฏิบัติหน้าที่เกี่ยวกับงานวิชาการและงานนิเทศการศึกษา เพื่อปรับปรุงการเรียนการสอน               ให้ได้มาตรฐาน ศึกษา ค้นคว้าทางวิชาการและวิเคราะห์ วิจัย ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผล เพื่อพัฒนา          การจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นและปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีคุณภาพ      การปฏิบัติงาน ดังนี้

                     คุณภาพการปฏิบัติงาน

                     มีความรู้ ความเข้าใจในหลักการนิเทศการศึกษา หลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ การวัด              การประเมินผลการศึกษา การประกันคุณภาพการศึกษา ระบบดูแลช่วยเหลือครูและนักเรียน เครื่องมือ         การนิเทศ ในระดับพื้นฐาน มีความสามารถในการวางแผนการนิเทศการศึกษา งานวิชาการ งานติดตาม ตรวจสอบ  ประเมินผลการจัดการศึกษาและจัดทำรายงาน โดยแสดงให้เห็นว่า มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ปรับประยุกต์ ระเบียบแบบแผนการนิเทศที่กำหนดให้เหมาะสมกับสถานการณ์และมีการพัฒนาตนและ
พัฒนาวิชาชีพ มีทักษะในการนิเทศที่คำนึงถึงความแตกต่างของครู ส่งผลให้ครูและบุคลากรในสถานศึกษาสามารถจัดกระบวนการเรียนรู้บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเป็นผู้มีวินัย คุณธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ   

                 11.๒ งานนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา

                           (๑) รวบรวม จัดระบบข้อมูลสารสนเทศ ตามสภาพปัญหา ความต้องการเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

                           (๒) จัดทำเกณฑ์ ตัวชี้วัดความสำเร็จ เครื่องมือ และวิธีการนิเทศ การตรวจสอบการจัดการศึกษา ของสถานศึกษา

                           (๓) สถานศึกษาประเมินตนเอง และตรวจสอบตามเกณฑ์และตัวชี้วัดการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

                           (๔) นิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ตามเกณฑ์และตัวชี้วัด วิจัย พัฒนารูปแบบ วิธีการที่เหมาะสม

                           (๕) ดำเนินการพิจารณาคัดเลือกรูปแบบ วิธีการที่เหมาะสมในการปฏิบัติงาน
เพื่อพัฒนารูปแบบ การดำเนินการนิเทศที่ดี หรือวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ

                           (๖) สรุป อภิปรายผลจากการดำเนินงานนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา วิเคราะห์จุดเด่น จุดควรพัฒนา เพื่อกำหนดแนวทางในการปรับปรุงแก้ไข และพัฒนางานต่อไป

                           (๗) เผยแพร่การนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษา                 ต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หรือผู้ที่สนใจ

                 11.๓ งานส่งเสริมและพัฒนาระบบการนิเทศและการจัดกระบวนการเรียนรู้

                           (๑) วิเคราะห์ภาระงาน จัดระบบข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับการพัฒนาระบบการนิเทศและการจัดกระบวนการเรียนรู้

                           (๒) ศึกษาสภาพความต้องการของการนิเทศและการจัดกระบวนการเรียนรู้ของสถานศึกษา

                           (๓) จัดทำแผนการส่งเสริมและพัฒนาระบบการนิเทศและการจัดกระบวนการเรียนรู้                  (๔) กำหนดวิธีการ แนวทางการนิเทศ สร้าง แสวงหาเครื่องมือ นวัตกรรม รูปแบบต่าง ๆ เพื่อดำเนินการนิเทศการศึกษาพัฒนาระบบการนิเทศ และการจัดกระบวนการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน ของสถานศึกษา

                           (๕) ติดตามและประเมินผลการนิเทศ เพื่อนำผลการประเมินไปกำหนดแนวทาง
การพัฒนาระบบ การนิเทศ และการจัดกระบวนการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอนในคราวต่อไป

                           (๖) สรุป รายงาน เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ต่อหน่วยงานต้นสังกัด สถานศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                 11.4  ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือ            ที่ได้รับมอบหมาย

                           (๑) การปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของส่วนราชการในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                           - ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจ และบทบาทอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อหาแนวทางปฏิบัติงานร่วมกัน

                           - เสนอแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้มีอำนาจพิจารณาตัดสินใจ

                               - ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและปฏิบัติงานร่วมกับ หรือ สนับสนุนหน่วยงานอื่นภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามที่ได้รับมอบหมาย

                           - ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งเผยแพร่ผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                           (๒) การปฏิบัติงานร่วมกับ หรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของส่วนราชการนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                           - ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจ และบทบาทอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อหาแนวทางปฏิบัติงานร่วมกัน

                           - เสนอแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้มีอำนาจพิจารณาตัดสินใจ

                           - ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและปฏิบัติงานร่วมกับ หรือ สนับสนุนหน่วยงานอื่นภายนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามที่ได้รับมอบหมาย

                           - ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งเผยแพร่ผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                      

                         ๑1.5  กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ดำเนินการดังนี้

                           (๑) ศึกษาค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์เอกสารหลักสูตรในกลุ่มวิชาที่รับผิดชอบและเผยแพร่ผู้ที่เกี่ยวข้อง

                           (๒) ส่งเสริมการพัฒนาหลักสูตรในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบให้เหมาะสมกับท้องถิ่น

                           (๓) จัดประชุมอบรม สัมมนา เป็นวิทยากรและให้คำปรึกษาในกลุ่มสาระการเรียนรู้             ที่รับผิดชอบ

                           (๔) ผลิต เผยแพร่ เอกสารทางวิชาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                           (๕) วางแผน ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                           (๖) นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการใช้หลักสูตร กิจกรรมการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                           (๗) พัฒนารูปแบบ เทคนิค วิธีการ สื่อ เครื่องมือการนิเทศในกลุ่มสาระการเรียนรู้               ที่รับผิดชอบ

                           (๘) วิเคราะห์ วิจัย และรายงานผลในกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่รับผิดชอบ

                     ๑1.6 งาน/โครงการที่ได้รับมอบหมาย

                           (๑) งาน/โครงการตามนโยบาย

                                     -  โครงการรายงานผลการประเมินการอ่านการเขียนของนักเรียนผ่านระบบการติดตามทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-MES) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

                       -  โครงการการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (RT)

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1                                           

                        -  โครงการการเตรียมความพร้อมประเมินสมรรถนะนักเรียนมาตรฐานสากล PISA

                           -  กิจกรรมลดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ Learning Loss

                           (๒) งาน/โครงการตามภาระงาน และกลุ่มสาระการเรียนรู้

                                     -  โครงการพัฒนาคุณภาพภาษาไทย เด็กไทยวิถีใหม่ อ่านออกเขียนได้ทุกคน    

                                 -  กิจกรรมรักษ์ภาษาไทย เนื่องในวันภาษาไทยแห่งชาติ

                                 -   โครงการส่งเสริมนิสัยรักการอ่านพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า         กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี

                                     -  กิจกรรมส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน

                           (๓) โครงการที่เกี่ยวกับวิชาการอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย

                                 -  โครงการโรงเรียนวิถีพุทธ

                             -  โครงการสนับสนุนการพัฒนาครูและโรงเรียนอย่างเป็นระบบ TSQM              จิตศึกษา ปีที่ 3 โดยความร่วมมือมหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 1 ,2 และ 3

                                     -  โครงการพัฒนาโรงเรียนอย่างเป็นระบบ จังหวัดเพชรบูรณ์ TSQM              โดยความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฎเพชรบูรณ์ สพป.เพชรบูรณ์ เขต 1 ,2 และ 3

                                     - Coaching and Mentoring ครูผู้ช่วยวิชาเอกภาษาไทย

                     ๑1.7 ศูนย์พัฒนาวิชาการที่รับผิดชอบ ในศูนย์ประสานงานอำเภอหนองไผ่

จำนวน 4 ศูนย์พัฒนาวิชาการ  ได้แก่

                     (๑) ศูนย์พัฒนาวิชาการบ้านโภชน์บัววัฒนา              จำนวน 12    โรงเรียน

                     (๒) ศูนย์พัฒนาวิชาการนาเฉลียงห้วยโป่งยางงาม       จำนวน  9    โรงเรียน

                     (3) ศูนย์พัฒนาวิชาการกองทูลเพชรละคร               จำนวน  7    โรงเรียน     

                     (4) ศูนย์พัฒนาวิชาการท่าแดงวังท่าดี                    จำนวน  8    โรงเรียน

                                                             รวมทั้งสิ้น      จำนวน 36 โรงเรียน

                     ๑1.8 ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย

                     ๑1.9 กรณีที่ไม่อยู่หรืออยู่แต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ นางปาริชาติ เข่งแก้ว ผู้อำนวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ปฏิบัติหน้าที่แทน 

กลุ่มงานเลขานุการคณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา

                 กลุ่มงานเลขานุการคณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา

                 ๑3. นางรังสิมา  บัวทอง ตำแหน่งเลขที่ 96 ตำแหน่งศึกษานิเทศก์ วิทยฐานะ ชำนาญการ ปฏิบัติหน้าที่หัวหน้ากลุ่มงานเลขานุการคณะกรรมการ ติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการจัดการศึกษา ทำหน้าที่ในกลุ่มงาน ดังนี้

                     13.1 งานเลขานุการคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา ดังนี้

                           (๑) การพัฒนาระบบข้อมูลและสารสนเทศ

                       - กำหนดขอบข่ายของข้อมูลด้านวิชาการ บริหารงานบุคคล บริหารงบประมาณและบริหารทั่วไปของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา โดยศึกษาจากนโยบาย แผนพัฒนาการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปี รายงานผลการปฏิบัติงาน จากกลุ่มต่าง ๆ ในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                               - รวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์และจัดทำระบบข้อมูล สารสนเทศ

                               - ตรวจสอบข้อมูลและสารสนเทศให้เป็นปัจจุบัน

                               - รายงานผลการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ที่เป็นข้อมูลและสารสนเทศ ต่อคณะกรรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา ถึงจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะ

                           - เผยแพร่ข้อมูลเป็นเอกสารและทางเว็บไซด์ ในระบบเครือข่ายและสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษา

                           (๒) การวางแผนการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและการนิเทศการศึกษา

                                - วิเคราะห์ผลการบริหารและการจัดการศึกษาในสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ด้านวิชาการ บริหารงานบุคคล บริหารงบประมาณและบริหารทั่วไป ให้เห็นจุดเด่น จุดที่ควรพัฒนาและข้อเสนอแนะ

                               - กำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ เป้าหมาย กลยุทธ์ในแผนพัฒนาคุณภาพการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและการนิเทศการศึกษา

                               - นำเสนอแผนพัฒนาคุณภาพการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและการนิเทศการศึกษา มากำหนดเครื่องมือในการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และนิเทศการศึกษา

                           (๓) จัดประชุมคณะกรรมการติดตาม  ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษาของเขตพื้นที่การศึกษา (ก.ต.ป.น.)

                           - นำเสนอแผนพัฒนาคุณภาพ เครื่องมือ วิธีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผล และการนิเทศการศึกษาต่อคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา

                           - แจ้งแผนพัฒนาคุณภาพ เครื่องมือ วิธีการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและนิเทศการศึกษาให้กลุ่มต่าง ๆ นำไปสู่การดำเนินการตามแผน

                               - ประสานงานกับคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา เพื่อดำเนินการตามแผนและแก้ไขการดาเนินงานระหว่างการปฏิบัติ

                           - รายงานผลการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อคณะกรรมการติดตาม  ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา

                           (๔) การติดตาม ตรวจสอบ

                               - ดำเนินการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและการนิเทศตามแนวทางของคณะกรรมการการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและนิเทศ

                               - รวบรวม วิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลจากการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและการนิเทศ

                           - จัดทำรายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและการนิเทศ  เสนอต่อคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและนิเทศการศึกษา

                           (๕) เผยแพร่ายงานผลการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและการนิเทศต่อคณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบ ประเมินและนิเทศการศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา  สถานศึกษา และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                     13.2 ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย

                           (๑) การปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของส่วนราชการในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                           - ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจ และบทบาทอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อหาแนวทางปฏิบัติงานร่วมกัน

                           - เสนอแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้มีอำนาจพิจารณาตัดสินใจ

                           - ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและปฏิบัติงานร่วมกับ หรือ สนับสนุนหน่วยงานอื่นภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามที่ได้รับมอบหมาย

                           - ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งเผยแพร่ผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                           (๒) การปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของส่วนราชการนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                           - ศึกษาวิเคราะห์ภารกิจและบทบาทอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา เพื่อหาแนวทางปฏิบัติงานร่วมกัน

                           - เสนอแนวทางการปฏิบัติงานเพื่อให้ผู้มีอำนาจพิจารณาตัดสินใจ

                               - ประสาน ส่งเสริม สนับสนุนและปฏิบัติงานร่วมกับ หรือ สนับสนุนหน่วยงานอื่นภายนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาตามที่ได้รับมอบหมาย

                           - ติดตาม ประเมินผล สรุปและรายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงานภายนอกสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา รวมทั้งเผยแพร่ผลงานต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                     13.3 ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย                  

                     13.4 กรณีที่ไม่อยู่หรืออยู่แต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ นางปาริชาติ  เข่งแก้ว
ปฏิบัติหน้าที่แทน

 

                 งานธุรการ  กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา

                 ๑4. -ว่าง- ตำแหน่งเลขที่ อ 47 ตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการชำนาญงาน ทำหน้าที่หัวหน้างานธุรการ มีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้

                     ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ปฏิบัติงานด้านธุรการ สารบรรณ หรือบริการทั่วไป ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้

                     14.๑ ด้านการปฏิบัติการ

                           (1) ปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ งานบริการทั่วไป เช่น การรับส่ง ลงทะเบียน ร่างหนังสือโต้ตอบจัดเตรียมการประชุม การบันทึกข้อมูล เพื่อสนับสนุนให้งานต่าง ๆ ดำเนินไปได้ โดยสะดวกราบรื่นและมีหลักฐานตรวจสอบได้ เช่น ดำเนินงานธุรการ  สารบรรณ   รวบรวมข้อมูลสถิติ  จัดทำทะเบียนเอกสารและจัดเตรียมการประชุม

                           (2) รวบรวมข้อมูล จัดเก็บข้อมูลสถิติ เอกสาร หลักฐานหนังสือ ตามระเบียบวิธีปฏิบัติเพื่อสะดวกต่อการค้นหา และเป็นหลักฐานทางราชการ

                           (3) ดำเนินการเกี่ยวกับพัสดุ ครุภัณฑ์ของสำนักงาน เพื่อให้มีอุปกรณ์ที่มีคุณภาพไว้ใช้งานและอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน

                           (4) จัดเตรียมการประชุม บันทึกการประชุม และจัดทำรายงานการประชุมเพื่อให้
การประชุมเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมีหลักฐานในการประชุม

                           (5) รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อมูลต่าง ๆ นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำไปใช้ เสนอแนะและปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป

                           (6) ศึกษา วิเคราะห์ วางแผนจัดระบบงานสารบรรณ และการบริหารงานของกลุ่ม ให้สามารถดำเนินงานตามภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ดังนี้

                           - ศึกษาวิเคราะห์สภาพของกลุ่ม และออกแบบงานสารบรรณให้เหมาะสมและสอดคล้องกับระบบงานสารบรรณของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                           - ติดตาม รับ- ส่ง งานสารบรรณจากระบบ AMSS+

                           - ลงทะเบียนรับ – ส่งหนังสือราชการ (Smart Office)

                           - ติดตามข้อมูลข่าวสารหนังสือราชการจากเว็บไซด์ ของหน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทำแฟ้มข้อมูลที่มีความสำคัญ  เผยแพร่ให้บุคลากรในกลุ่มทราบ

                     14.2 ด้านการจัดทำข้อมูลสารสนเทศ

                           (1) บุคลากรในสถานศึกษา  เช่น  ผู้บริหารโรงเรียน  ครูผู้สอนและศึกษานิเทศก์

                           (2) กลุ่มสารสนเทศในกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา เช่น

                           - งานวัดและประเมินผลการศึกษา เช่น

o ข้อมูลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

o ข้อมูล NT,  O-NET, ข้อสอบมาตรฐานกลาง,คลังข้อสอบ

                           - งานสื่อและนวัตกรรม

o ข้อมูลรายการสื่อ นวัตกรรมทางการศึกษา

o ผลิตสื่อ นวัตกรรม ผลงานวิชาการของศึกษานิเทศก์  ผู้บริหารและครู

                     14.3 ด้านการบริการ

                           (1) ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น

                           (2) ให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป

                           (3) ผลิตเอกสารต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงาน

                           (4) ประสานงานกับกลุ่มอื่นในสำนักงาน หน่วยงานและสถานศึกษาในงานธุรการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงาน ของกลุ่ม โดยมีผลสำเร็จที่คาดหวัง  การปฏิบัติงานของบุคลากรในกลุ่มเป็นระบบสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ

                           (5) ประสานดำเนินงานประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสารและผลงานของกลุ่มนิเทศ
ให้บุคลากรทางการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และประชาชนทั่วไปได้รับทราบ

                                - เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร  โดยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ป้ายประกาศและวิธีการอื่น ๆ

                           - ดูแลเว็บไซต์ของกลุ่มนิเทศ

                           - ประสานงานเว็บไซต์ของเขตพื้นที่และสถานศึกษา

                           - ติดตามงานสารบรรณจากเว็บไซต์ (e-office สพฐ.)

                           - ติดตามข้อมูลข่าวสารจากเว็บไซต์ของ สพฐ.

                     14.๔ ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย

                     14.5 กรณีที่ไม่อยู่หรืออยู่แต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ ปฏิบัติหน้าที่แทน

 

                 15. -ว่าง- ตำแหน่งเลขที่ อ 49 ตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน ปฏิบัติหน้าที่งานธุรการ มีหน้าที่และความรับผิดชอบ ดังนี้

                     ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ปฏิบัติงานด้านธุรการ สารบรรณ หรือบริการทั่วไป ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้

                     15.1 ด้านการปฏิบัติการ

                           (1) ปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ งานบริการทั่วไป เช่น การรับส่ง ลงทะเบียน ร่างหนังสือโต้ตอบจัดเตรียมการประชุม การบันทึกข้อมูล เพื่อสนับสนุนให้งานต่าง ๆ ดำเนินไปได้ โดยสะดวกราบรื่นและมีหลักฐานตรวจสอบได้ เช่น ดำเนินงานธุรการ สารบรรณ รวบรวมข้อมูลสถิติ จัดทำทะเบียนเอกสารและจัดเตรียมการประชุม

                           (2) รวบรวมข้อมูล จัดเก็บข้อมูลสถิติ เอกสาร หลักฐานหนังสือ ตามระเบียบวิธีปฏิบัติเพื่อสะดวกต่อการค้นหา และเป็นหลักฐานทางราชการ

                           (3) ดำเนินการเกี่ยวกับพัสดุ ครุภัณฑ์ของสำนักงาน เพื่อให้มีอุปกรณ์ที่มีคุณภาพไว้ใช้งานและอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน

                           (4) จัดเตรียมการประชุม บันทึกการประชุม และจัดทำรายงานการประชุมเพื่อให้
การประชุมเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมีหลักฐานในการประชุม

                           (5) รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อมูลต่าง ๆ นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำไปใช้ เสนอแนะและปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป

                           (6) ศึกษา วิเคราะห์ วางแผนจัดระบบงานสารบรรณ และการบริหารงานของกลุ่ม ให้สามารถดำเนินงานตามภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ดังนี้

                           - ศึกษาวิเคราะห์สภาพของกลุ่ม และออกแบบงานสารบรรณให้เหมาะสมและสอดคล้องกับระบบงานสารบรรณของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                           - ติดตาม รับ - ส่ง งานสารบรรณจากระบบ AMSS+

                           - ลงทะเบียนรับ – ส่งหนังสือราชการ (Smart Office)

                           - ติดตามข้อมูลข่าวสารหนังสือราชการจากเว็บไซต์ ของหน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

                           - จัดทำแฟ้มข้อมูลที่มีความสำคัญ  เผยแพร่ให้บุคลากรในกลุ่มทราบ

                     15.2 ด้านการจัดทำข้อมูลสารสนเทศ

                           (1) บุคลากรในสถานศึกษา  เช่น  ผู้บริหารโรงเรียน  ครูผู้สอนและศึกษานิเทศก์

                           (2) กลุ่มสารสนเทศในกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา เช่น

                           - งานนิเทศ ติดตามและประเมินผลติดตามการจัดการศึกษา เช่น

o ข้อมูลสารสนเทศด้านงานนิเทศระดับเขตพื้นที่การศึกษา

o ข้อมูลสารสนเทศด้านงานนิเทศระดับสถานศึกษา

o นำข้อมูลสารสนเทศลงเว็บไซต์ของกลุ่มนิเทศฯ

                           - งานเลขานุการ

o ข้อมูลสารสนเทศในกรอบงานเลขานุการ

o ข้อมูลเกี่ยวกับ ก.ต.ป.น.       

                     15.3 ด้านการบริการ

                           (1) ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น

                                (2) ให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป

                           (3) ผลิตเอกสารต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงาน

                           (4) ประสานงานกับกลุ่มอื่นในสำนักงาน หน่วยงานและสถานศึกษาในงานธุรการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงาน ของกลุ่ม โดยมีผลสำเร็จที่คาดหวัง  การปฏิบัติงานของบุคลากรในกลุ่มเป็นระบบสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ

                           (5) ประสานดำเนินงานประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสารและผลงานของกลุ่มนิเทศ
ให้บุคลากรทางการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา  ครู และประชาชนทั่วไปได้รับทราบ

                                - เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร  โดยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ป้ายประกาศและวิธีการอื่น ๆ

                           - ดูแลเว็บไซต์ของกลุ่มนิเทศ

                           - ประสานงานเว็บไซต์ของเขตพื้นที่และสถานศึกษา

                           - ติดตามงานสารบรรณจากเว็บไซต์ (e-office สพฐ.)

                           - ติดตามข้อมูลข่าวสารจากเว็บไซต์ของ สพฐ.

                     15.๔ ปฏิบัติหน้าที่งานธุรการของงานเลขานุการของผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 ดังนี้

                         1) เลขานุการตรวจสอบความถูกต้องของเอกสารโดยวิเคราะห์เนื้อหาพร้อมทั้งการตรวจสอบและการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดลำดับความสำคัญของงานในเบื้องต้นก่อนนำเสนอผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3

                           2) บันทึกคำวินิจฉัยสั่งการของผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 เพื่อใช้ในการตรวจสอบและติดตามงานก่อนส่งเรื่องออก

                                3) ส่งหนังสือคืนหน่วยงาน/กลุ่ม เพื่อให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบดำเนินการตามคำสั่งต่อไป

                           4) จัดทำนัดหมายของผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3

                           5) จัดเตรียมเอกสารในการประชุม

                           6) จัดเตรียมเอกสารข้อมูลประกอบการบรรยายให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3

                           7) ประสาน/ติดตามกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการอำนวยความสะดวกใน
การเดินทางไปราชการทั้งในและนอกพื้นที่

                           8) สรุปรายงานการประชุมเสนอผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 และประสานงานผู้เกี่ยวข้อง

                           9) ประสานงานให้คำแนะนำช่วยเหลือ อำนวยความสะดวกแก่ผู้ติดต่อราชการ

                           10) เตรียมการเดินทางให้ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 3 เช่น จองตั๋วการเดินทาง พาหนะ ที่พักและเอกสารเกี่ยวกับการเดินทาง

                     15.5 ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย

                     15.6 กรณีที่ไม่อยู่หรืออยู่แต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้นางสาวอมรฤดี  ประดับมุข
และนายอิสระพงษ์ ช้างอ้น ปฏิบัติหน้าที่แทน

                 16. -ว่าง- ตำแหน่งเลขที่ อ 48 ตำแหน่งเจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน ปฏิบัติหน้าที่งานธุรการ มีหน้าที่และความรับผิดชอบดังนี้

                     ปฏิบัติงานในฐานะผู้ปฏิบัติงานระดับต้น ปฏิบัติงานด้านธุรการ สารบรรณ หรือบริการทั่วไป ตามแนวทาง แบบอย่าง ขั้นตอน และวิธีการที่ชัดเจน ภายใต้การกำกับ แนะนำ ตรวจสอบ และปฏิบัติงานอื่นตามที่ได้รับมอบหมาย โดยมีลักษณะงานที่ปฏิบัติในด้านต่าง ๆ ดังนี้

                     16.๑ ด้านการปฏิบัติการ

                           (1) ปฏิบัติงานธุรการ งานสารบรรณ งานบริการทั่วไป เช่น การรับส่ง ลงทะเบียน ร่างหนังสือโต้ตอบจัดเตรียมการประชุม การบันทึกข้อมูล เพื่อสนับสนุนให้งานต่าง ๆ ดำเนินไปได้ โดยสะดวกราบรื่นและมีหลักฐานตรวจสอบได้ เช่น ดำเนินงานธุรการ  สารบรรณ   รวบรวมข้อมูลสถิติ  จัดทำทะเบียนเอกสารและจัดเตรียมการประชุม

                           (2) รวบรวมข้อมูล จัดเก็บข้อมูลสถิติ เอกสาร หลักฐานหนังสือ ตามระเบียบวิธีปฏิบัติเพื่อสะดวกต่อการค้นหา และเป็นหลักฐานทางราชการ

                           (3) ดำเนินการเกี่ยวกับพัสดุ ครุภัณฑ์ของสำนักงาน เพื่อให้มีอุปกรณ์ที่มีคุณภาพไว้ใช้งานและอยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน

                           (4) จัดเตรียมการประชุม บันทึกการประชุม และจัดทำรายงานการประชุมเพื่อให้
การประชุมเป็นไปด้วยความเรียบร้อย และมีหลักฐานในการประชุม

                           (5) รวบรวมรายงานผลการปฏิบัติงานและข้อมูลต่าง ๆ นำเสนอต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำไปใช้ เสนอแนะและปรับปรุงการปฏิบัติงานต่อไป

                           (6) ศึกษา วิเคราะห์ วางแผนจัดระบบงานสารบรรณ และการบริหารงานของกลุ่ม ให้สามารถดำเนินงานตามภารกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ  ดังนี้

                           - ศึกษาวิเคราะห์สภาพของกลุ่ม และออกแบบงานสารบรรณให้เหมาะสมและสอดคล้องกับระบบงานสารบรรณของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                           - ติดตาม รับ- ส่ง งานสารบรรณจากระบบ AMSS+

                           - ลงทะเบียนรับ – ส่งหนังสือราชการ (Smart Office)

                           - ติดตามข้อมูลข่าวสารหนังสือราชการจากเว็บไซด์ ของหน่วยงานต้นสังกัด และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทำแฟ้มข้อมูลที่มีความสำคัญ  เผยแพร่ให้บุคลากรในกลุ่มทราบ

                     16.2. ด้านการจัดทำข้อมูลสารสนเทศ

                       (1) บุคลากรในสถานศึกษา  เช่น  ผู้บริหารโรงเรียน  ครูผู้สอนและศึกษานิเทศก์

                       (2) กลุ่มสารสนเทศในกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา เช่น

                       (2.1) ข้อมูลบุคลากรภายในกลุ่มนิเทศเป็นรายบุคคล

                           (2.2) ข้อมูลของสถานศึกษาในสังกัด

                       (2.3) ข้อมูลเกี่ยวกับกลุ่มงานพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและกระบวนการเรียนรู้ และ กลุ่มงานส่งเสริมพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา เช่น

                                     - ข้อมูลโรงเรียนที่เปิดสอนระดับปฐมวัย  ประถมและขยายโอกาส

                                     - ข้อมูลการพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา งานคุณธรรมจริยธรรม

                                             - ข้อมูลเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในและงานประกันคุณภาพภายนอก

                           (3) งานเลขานุการ

                           (3.1) ข้อมูลสารสนเทศในกรอบงานเลขานุการ

                           (3.2) ข้อมูลเกี่ยวกับ ก.ต.ป.น.

                     16.3 ด้านการบริการ

                           (1) ติดต่อประสานงานกับบุคคลภายในหน่วยงานเดียวกันหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อให้การปฏิบัติงานเป็นไปด้วยความราบรื่น

                                (2) ให้บริการข้อมูลแก่ผู้มาติดต่อราชการ เพื่อให้ได้รับข้อมูลที่จะนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป

                           (3) ผลิตเอกสารต่าง ๆ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงาน

                           (4) ประสานงานกับกลุ่มอื่นในสำนักงาน หน่วยงานและสถานศึกษาในงานธุรการที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงาน ของกลุ่ม โดยมีผลสำเร็จที่คาดหวัง  การปฏิบัติงานของบุคลากรในกลุ่มเป็นระบบสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ

                           (5) ประสานดำเนินงานประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสารและผลงานของกลุ่มนิเทศ
ให้บุคลากรทางการศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู และประชาชนทั่วไปได้รับทราบ

                                - เผยแพร่ข้อมูลข่าวสาร  โดยผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ป้ายประกาศและวิธีการอื่น ๆ

                           - ดูแลเว็บไซต์ของกลุ่มนิเทศ

                           - ประสานงานเว็บไซต์ของเขตพื้นที่และสถานศึกษา

                           - ติดตามงานสารบรรณจากเว็บไซต์ (e-office สพฐ.)

                           - ติดตามข้อมูลข่าวสารจากเว็บไซต์ของ สพฐ.

                     6.๔ ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ผู้บังคับบัญชามอบหมาย

                     6.๕ กรณีที่ไม่อยู่หรืออยู่แต่ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ให้ ปฏิบัติหน้าที่แทน