Article/บทความ

เด็ก.โรงเรียน.เมือง.ภัยพิบัติ

"เรา(ผู้ใหญ่)นั้นอายุเยอะแล้ว หากภัยพิบัติเกิดขึ้น เด็กๆ เหล่านี้ต่างหากที่ต้องรอด เพราะจะเป็นเรี่ยวแรงสำคัญในการพัฒนาประเทศยามวิกฤต" เมื่อโรงเรียนเป็นมากกว่าโรงเรียนในประเทศญี่ปุ่น

อนาคตจากเราแต่ไม่ใช่ของเรา ความยั่งยืนที่ยังไม่ยั่งยืน

จากคำนิยามและการวางเป้าหมายเพื่อความยั่งยืนของคณะทำงานบรันท์แลนด์ ความจริงที่น่าตกใจจากสารคดี An inconvenient truth จนมาถึงเสียงจากอนาคตของน้องเกรตา สะท้อนความจริงที่ว่าเรายังไม่ได้ทำอะไรเป็นชิ้นเป็นอันเพื่อลดผลกระทบจากโลกร้อนเลยแม้แต่นิดเดียว

“ถ้าเราเหนื่อยล้า จงเดินเข้าป่า...” นี่คงไม่ใช่เป็นเพียงท่อนหนึ่งในบทเพลงยอดนิยมหรือเป็นแค่ความเชื่อเท่านั้น พื้นที่สีเขียวมีผลกับมนุษย์อย่างไร ทำไมเราถึงรู้สึกอยากสัมผัสกับพื้นที่สีเขียวเมื่อเกิดความเครียดหรือเหนื่อยล้า

เชื่อว่าทุกท่านน่าจะสัมผัสได้ถึงความรุนแรงของพิบัติภัย ที่เกิดขึ้นโดยธรรมชาติที่นับวันจะรุนแรงขึ้นทุกที ประเทศไทยก็อยู่ในพื้นที่เสี่ยงภัยระดับเสี่ยงสูง ทำไมเมืองไทยอยู่ในกลุ่มเสี่ยงเมื่อเทียบกับประเทศอื่นๆ ใครมาเป็นผู้ประเมิน อ่านรายละเอียดได้ในบทความ

แม้ว่าเมืองโคเปนเฮเกนประสบความสำเร็จในการลดการปล่อยคาร์บอนมากกว่า 20% ในเวลาที่ผ่านมา แต่เมืองก็ยังตั้งเป้าหมายให้สูงขึ้นกว่าเดิมในการมีส่วนรวมในเรื่องภาวะโลก