คำนำ

ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ

พ.ศ. ๒๕๔๒ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ได้กำหนดให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับแต่ละประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนดพร้อมทั้งจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพ

ตามมาตรฐานการศึกษาและดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาและจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงาน

ที่กำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปี ประกอบกับกฎกระทรวงศึกษาธิการ กำหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สำหรับสถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. ๒๕๕๕ ที่อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ วรรคสาม และมาตรา ๒๕ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้กำหนดให้สถานศึกษาต้องดำเนินการ ดังนี้ ๑) จัดให้มีมาตรฐานการศึกษานอกระบบ

ที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด ๒) จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี

๓) ดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี ๔) จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ๕) จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๖) จัดทำรายงานการประเมินตนเองประจำปี ๗) เสนอรายงานการประเมินคุณภาพภายในต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และภาคีเครือข่าย และเผยแพร่ต่อสาธารณชน ๘) นำผลการประเมินคุณภาพภายในมาเป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาและภาคีเครือข่าย ๙) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ ๑๐) ยึดหลักการมีส่วนร่วมของสถานศึกษา บุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ภาคีเครือข่าย และผู้รับบริการ

ในการนี้ เพื่อเป็นการดำเนินงานให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงดังกล่าวข้างต้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ จึงได้ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา เพื่อประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยวิเคราะห์จากแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปีร่วมกับผลการดำเนินงานของสถานศึกษา และจัดให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างคณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครู เจ้าหน้าที่ และผู้ที่เกี่ยวข้อง เพื่อประเมินคุณภาพภายใน และจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา พร้อมทั้งร่วมกันเสนอแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาในปีถัดไป ทั้งนี้ คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ได้ดำเนินการประเมินคุณภาพการศึกษาที่สอดคล้องตามสภาพจริงของสถานศึกษา เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างยั่งยืน

ลงชื่อ

( นายชากล้า สงวนนาม )

ตำแหน่ง ผอ.กศน.อำเภอวังสามหมอ


สารบัญ

หน้า

คำนำ

สารบัญ ข-ค

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

บทที่ ๑ ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา 1

· สภาพทั่วไปของสถานศึกษา 1

· ทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษา

· จำนวนผู้เรียน ผู้รับบริการ และจำนวนผู้จัดการเรียนรู้

(ปีงบประมาณที่จัดทำรายงานการประเมินตนเอง) 15

· จำนวนบุคลากร (ปีงบประมาณที่จัดทำรายงานการประเมินตนเอง) 16

· งบประมาณ (ปีงบประมาณที่จัดทำรายงานการประเมินตนเอง) 16

· กศน.ตำบล/ศูนย์การเรียนชุมชน 16

· แหล่งเรียนรู้ 17

· ภาคีเครือข่าย 18

· ภูมิปัญญา 19

· แผนปฏิบัติการประจำปี (ปีงบประมาณที่จัดทำรายงานการประเมินตนเอง) 20

· รางวัล เกียรติบัตร การเชิดชูเกียรติที่สถานศึกษาได้รับ 34

· ผลการประเมินคุณภาพโดยต้นสังกัด ครั้งล่าสุด 36

· ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาจากผลการประเมินโดยต้นสังกัด ที่ผ่านมา 38

· ผลการประเมินคุณภาพภายนอก ครั้งล่าสุด 39

· ข้ออเสนอแนะเพื่อการพัฒนาจากผลการประเมินคุณภาพภายนอก ที่ผ่านมา 40

บทที่ ๒ ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา 41

· ผลการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

(เฉพาะมาตรฐานที่ ๑ - ๒) 42

· ผลการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาต่อเนื่อง (เฉพาะมาตรฐานที่ ๑ - ๒) 73

· ผลการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย (เฉพาะมาตรฐานที่ ๑ - ๒) 98

· ผลการประเมินคุณภาพคุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา (มาตรฐานที่ ๓) 101

บทที่ ๓ สรุปผลการประเมินตนเอง และแนวทางการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา 120

· มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน 121

· มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง 122

· มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย 124

สารบัญ (ต่อ)

หน้า

ภาคผนวก

· ค่าเป้าหมายเพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตามมาตรฐาน

การศึกษาของสถานศึกษา 126

· คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา 130

· ประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายใน

ของสถานศึกษา 134


บทสรุปสำหรับผู้บริหาร

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ตั้งอยู่ที่ ส่วนราชการ หมู่ ๕ ตำบลวังสามหมอ อำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ มีการจัดการศึกษา ๓ ประเภท ประกอบด้วย

R การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

R การศึกษาต่อเนื่อง

R การศึกษาตามอัธยาศัย

คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา ได้ดำเนินการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ตั้งแต่วันที่ ๑ เดือนตุลาคม ๒๕๖๔ ตามคำสั่งศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ที่ ๑๒๐/๒๕๖๔ ซึ่งจากการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา สามารถสรุป ได้ดังนี้

สถานศึกษามีผลการประเมินตนเองในภาพรวม อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม มีคะแนนรวมเท่ากับ ๙๒.๗๗คะแนน และเมื่อพิจารณาผลการประเมินตนเองตามประเภทการจัดการศึกษาของสถานศึกษา พบว่า

๑. มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน สถานศึกษามีผลการประเมินตนเอง อยู่ในระดับ ดีเลิศ มีคะแนนรวมเท่ากับ ๙๐.๓๐ คะแนน

๒. มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง สถานศึกษามีผลการประเมินตนเอง อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม มีคะแนนรวมเท่ากับ ๙๕.๑๐ คะแนน

๓. มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย สถานศึกษามีผลการประเมินตนเอง อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม มีคะแนนรวมเท่ากับ ๙๒.๙๐ คะแนน

ทั้งนี้ จากการสรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

โดยภาพรวมของสถานศึกษา จึงได้มีการกำหนดแนวทางเพื่อรักษาคุณภาพหรือพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ที่สถานศึกษาคาดว่าจะนำไปดำเนินการในปีงบประมาณถัดไป ดังนี้

๑) สถานศึกษาจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับนักศึกษา กศน.อำเภอวังสามหมอ ให้มีคุณภาพ โดยมีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนในด้านคุณธรรม อาสายุวกาชาด กีฬา กศน. ยาเสพติด ด้านไอซีที ด้านเฝ้าระวังป้องกันโรคโควิด-19 เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น และอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

๒) สถานศึกษาจัดการศึกษาต่อเนื่องให้กับประชาชนทั่วไปในเขตอำเภอวังสามหมอ ตามความต้องการของผู้เรียนเพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน สามารถสร้างอาชีพใหม่หรือต่อยอดอาชีพเดิมของตนเอง และก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลกในยุคดิจิทัล

๓) สถานศึกษามีการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับนักเรียน นักศึกษา และประชาชนทั่วไป ให้เป็นผู้มีนิสัยรักการอ่าน มีการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกับภาคีเครือข่ายในการส่งเสริมการอ่านผ่านบ้านหนังสือชุมชน มีการจัดกิจกรรมห้องสมุดชาวตลาด และห้องสมุดเคลื่อนที่ร่วมกับโครงการอำเภอยิ้ม มีการปรับปรุงภูมิทัศน์ทั้งภายในและภายนอกของห้องสมุดประชาชนอำเภอให้มีความสะอาด สวยงาม ร่มรื่น น่าเข้ามาใช้บริการ

คณะกรรมการการประเมินตนเองของสถานศึกษา หวังเป็นอย่างยิ่งว่า สถานศึกษาจะนำผลการประเมินจากรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ไปใช้เป็นข้อมูลในการกำหนดแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป

ลงชื่อ

( นายชากล้า สงวนนาม )

ประธานคณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษา

วันที่ ๑ เดือน ตุลาคม พ.ศ.๒๕๖๔

ทั้งนี้ คณะกรรมการสถานศึกษาได้รับทราบผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า สถานศึกษาจะนำผลการประเมินจากรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ไปใช้เป็นข้อมูลในการกำหนดแนวทางการพัฒนาคุณภาพการศึกษาต่อไป

ลงชื่อ

( นายเกรียงวิทย์ วันชูเสริฐ )

ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา

วันที่ ๑ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๔


บทที่ ๑

ข้อมูลพื้นฐานของสถานศึกษา

@ สภาพทั่วไปของสถานศึกษา

ชื่อสถานศึกษา : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ

ที่อยู่ : ส่วนราชการ ถนนวังสามหมอ – ศรีธาตุ อำเภอ/เขต : วังสามหมอ

จังหวัด : อุดรธานี

เบอร์โทรศัพท์ : ๐๔๒-๓๘๗๖๖๙ เบอร์โทรสาร : ๐๔๒-๓๘๗๖๖๙

E-mail ติดต่อ : nfewangsammor@gmail.com website http://udon.nfe.go.th/wangsammor/

สังกัด : สำนักงาน กศน. จังหวัดอุดรธานี สำนักงาน กศน. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

@ประวัติความเป็นมาของสถานศึกษา

1. ประวัติสถานศึกษา

ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอวังสามหมอสถานภาพ เป็นสถานศึกษา ในราชการบริหารส่วนกลาง สังกัดศูนย์การศึกษานอกโรงเรียนจังหวัดอุดรธานี สำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ จัดตั้งโดยกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศจัดตั้ง โดยอาศัยอำนาจตามความในมาตรา 25 แห่งพระราชบัญญัติ ปรับปรุง กระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2531 ข้อ 6 ประกาศ ณ วันที่ 27 สิงหาคม 2546 ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง จัดตั้งศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอ/กิ่งอำเภอ โดยนายปราโมทย์ สุขุม รัฐมนตรีช่วยว่าการฯ รักษาราชการแทนรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ จากหนังสือกรมการศึกษานอกโรงเรียน ที่ ศธ 1103 / 1897 ลงวันที่ 6 กันยายน 2536 ซึ่งประกาศกระทรวงศึกษาธิการฉบับนี้ ทำให้ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอ ซึ่งเป็นสถานศึกษาที่ให้บริการการศึกษานอกโรงเรียนแก่ประชาชนทั่วประเทศถึง 789 แห่ง ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอวังสามหมอ เป็นศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอ ลำดับที่ 11 ของจังหวัดอุดรธานี ทั้งนี้มีวัตถุประสงค์ ในการกระจายอำนาจสู่อำเภอ เพื่อให้ ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอ เป็นสรรพกำลังในการขยายฐานการให้บริการด้านการศึกษานอกโรงเรียน ไปสู่ประชาชนผู้พลาดโอกาสอย่างทั่วถึง

ปี พ.ศ. 2546 ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอวังสามหมอ ได้เปลี่ยนสังกัด จากกรมการศึกษานอกโรงเรียน ตามนโยบายปฏิรูปการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 กรมการศึกษานอกโรงเรียน เปลี่ยนเป็น สำนักบริหารงานการศึกษานอกโรงเรียน สังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ปี พ.ศ. 2551 ศูนย์บริการการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอวังสามหมอ ได้เปลี่ยนเป็นศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ สังกัดสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดอุดรธานี สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ตามพระราชบัญญัติการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ปัจจุบันมีอาคารเอกเทศในการบริหารจัดการ ดังนี้

อาคารห้องสมุดประชาชน อนาลโย (ภูค้อ)อุปถัมภ์ สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2540 โดย

พระอาจารย์ชาญยุทธ ชิตินทริโย( เจ้าอาวาส) วัดอนาลโย ภูค้อ ตำบลผาสุก อำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี บริจาคเงินสมทบกับเงินบประมาณ การศึกษานอกโรงเรียน เพื่อสร้างอาคารห้องสมุดประชาชนตามแบบมาตรฐาน ซึ่งนายเกียรติชัย ชัยเชาวรัตน์ รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทยให้เกียรติเป็นประธานพิธีเปิดอาคาร ซึ่งปัจจุบันเป็นอาคารห้องสมุดที่จัดบริการการเรียนรู้

อาคารพระครูวิชัยคุณวัตร สร้างเมื่อปี พ.ศ. 2546 โดยพระครูวิชัยคุณวัตร (พระอาจารย์ชาญยุทธ ชิตินทริโย) ร่วมกับเจ้าของร้านแชมป์เนื้อย่างเกาหลี จังหวัดขอนแก่น และประชาชนชาวอำเภอวังสามหมอ ก่อสร้างอาคารซึ่ง นายชาติชาตรี โยสีดา อธิบดีกรม การศึกษานอกโรงเรียนได้เป็นเกียรติเป็นประธานพิธีเปิดอาคาร วันที่ 4 เมษายน 2546 ปัจจุบัน เป็นอาคารสำนักงานศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ

1. อาคารสำนักงานการประถมศึกษาปี พ.ศ. 2546 สำนักงานการประถมศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา ที่ 2 ได้มอบให้ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ปัจจุบัน เป็น กศน.ตำบลวังสามหมอ/ศูนย์การเรียนชุมชนเขตเทศบาล ตำบลวังสามหมอ

2. อาคารเอนกประสงค์สำนักงานการประถมศึกษา ปัจจุบันศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้ต่อเติมเป็นอาคาร ฝ่ายวัดผล และประเมินผล และห้องพักครู

3. อาคารห้องประชุม บ้านวังไม้ ปัจจุบันจัดเป็นสถานที่ประชุม จัดกิจกรรม ศูนย์การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ และเป็นห้องประชุมบรรยายศูนย์การเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง

4. บ้านวังไม้พอเพียง จำลองชีวิตความเป็นอยู่แบบพอเพียงตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

5. บ้านวังไม้ Learning การเรียนรู้ตามอัธยาศัย จัดเป็นศูนย์สาธิตการขาย

4.2 อาณาเขต

ลักษณะที่ตั้ง

อำเภอวังสามหมอ ตั้งอยู่ทางทิศใต้ของจังหวัดอุดรธานี ห่างจากตัวจังหวัดอุดรธานี ประมาณ 103 กิโลเมตร บ้านหนองแวงเจริญ หมู่ที่ 5 ตำบลวังสามหมอ

4.2.1 อาณาเขตติดต่อ

ทิศเหนือ จรดอำเภอไชยวาน (จังหวัดอุดรธานี) อำเภอส่องดาว (จังหวัดสกลนคร)

ทิศตะวันออก จรดกับอำเภอนิคมน้ำอูน อำเภอกุดบาก (จังหวัดสกลนคร) และอำเภอคำม่วง (จังหวัดกาฬสินธุ์)

ทิศใต้ จรดกับอำเภอสามชัย อำเภอหนองกุงศรี อำเภอท่าคันโท (จังหวัดกาฬสินธุ์)

ทิศตะวันตก จรดกับอำเภอศรีธาตุ (จังหวัดอุดรธานี)และอำเภอไชยวาน

การปกครองส่วนภูมิภาค

อำเภอวังสามหมอแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 6 ตำบล 72 หมู่บ้าน

1.


หนองกุงทับม้า





11 หมู่บ้าน





2.


หนองหญ้าไซ





9 หมู่บ้าน





3.


บะยาว




12 หมู่บ้าน






4.


ผาสุก




18 หมู่บ้าน






5.


คำโคกสูง




9 หมู่บ้าน






6.


วังสามหมอ




13 หมู่บ้าน



















การปกครองส่วนท้องถิ่น

ท้องที่อำเภอวังสามหมอประกอบด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 7 แห่ง ได้แก่

· เทศบาลตำบลวังสามหมอ ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลวังสามหมอ

· เทศบาลตำบลลำพันชาด ครอบคลุมพื้นที่ตำบลวังสามหมอ (เฉพาะนอกเขตเทศบาลตำบลวังสามหมอ)

· เทศบาลตำบลผาสุก ครอบคลุมพื้นที่ตำบลผาสุกทั้งตำบล

· เทศบาลตำบลหนองหญ้าไซ ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองหญ้าไซทั้งตำบล

· เทศบาลตำบลบะยาว ครอบคลุมพื้นที่ตำบลบะยาวทั้งตำบล

· องค์การบริหารส่วนตำบลหนองกุงทับม้า ครอบคลุมพื้นที่ตำบลหนองกุงทับม้าทั้งตำบล

· องค์การบริหารส่วนตำบลคำโคกสูง ครอบคลุมพื้นที่ตำบลคำโคกสูงทั้งตำบล

สภาพภูมิประเทศ/ภูมิอากาศ

อำเภอวังสามหมอ เป็นที่ราบสูง มีภูเขาสลับกับที่ราบตลอดพื้นที่ ทางทิศใต้ติดกับเขื่อนลำปาว ทำให้พื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์ มีแหล่งน้ำและห้วยไหลผ่านหลายสาย มีฤดูกาล ๓ ฤดู คือ ฤดูฝน ฤดูหนาว และฤดูร้อน มีความหลากหายทางชีวภาพ มีอาหารป่าให้จัดเก็บทุกฤดู

4.2.2 เนื้อที่ อำเภอวังสามหมอมีพื้นที่ทั้งสิ้น 727.3 ตารางกิโลเมตร โดยประมาณ

การบริหารงานด้านบุคลากรศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ

นายชากล้า สงวนนาม

ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอวังสามหมอ


กศน.อำเภอวังสามหมอ บริหารงานโดย นายชากล้า สงวนนาม เป็นผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ มีบุคลากร ทั้งหมด จำนวน 34 คน ประกอบด้วย

ที่

ชื่อ-สกุล

ตำแหน่ง

1.

นายชากล้า สงวนนาม

ผอ.กศน.อำเภอวังสามหมอ

2.

นายณัฐพงศ์ โสภิณ

ครู

3.

นางสาวกัณฐ์ธภิญค์ษา ผดุงไสย์

ครูผู้ช่วย

4.

นางฟองจันทร์ แผนบุตร

พนักงานราชการ (ครู อาสาฯ)

5.

นายอุทัย เหล่ามาลา

พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล)

6.

นางวงจันทร์ วรรณโนมัย

พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล)

7.

นางสมบูรณ์ ลีบ่อน้อย

พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล)

8.

นางสาวมนสิชา จันทรา

พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล)

9.

นายอนันต์ โชติรักษา

พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล)

10.

นางสาวสุภาพร ฤทธิขันธ์

พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล)

11.

นางสาวชไมพร เหล่ารัตน์ศรี

พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล)

12.

นายสิทธิชัย ศรีหลิ่ง

พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล)

13.

นางอรวรรณ ศรีหริ่ง

พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล)

14.

นายครรชิต เพชรบุรมย์

พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล)

15.

นางวิมล โสภิณ

พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล)

16.

นายปริญญา แก้ววิชัย

พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล)

17.

นางสาวดวงกมล แสนวงค์

พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล)

18.

นายพงศ์วุฒิ เวชบุตร

พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล)

19.

นายชาญชัย ศรีประเสริฐ

พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล)

20.

นายณัฐพล สีใส

พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล)

21.

นางสาวศศิธร กองแก้ว

พนักงานราชการ (ครู กศน.ตำบล)

22.

นายสุริยะ ลีบ่อน้อย

ครู ศรช.

23.

นางสาวสุธาสินี วันชูเสริฐ

ครู ศรช.

24.

นางสาวภัสรา ภูนิคม

ครู ศรช.

25.

นางสาวศิรินภา ดวงบุญมี

ครู ศรช.

26.

นางสาวพรรษวรรณ วรรณพราหมณ์

ครู ศรช.

27.

นางสาวรัตน์สุดา จันทร์รักษ์

ครู ศรช.

28.

นายสังวาล โสดามา

ครูผู้สอนคนพิการ

29.

นางมณีอร ชินวรรณ

ครูผู้สอนคนพิการ

30.

นายสัตพล ภารไสว

นักวิชาการศึกษา

31.

นางไสว ภูดวงดอก

พนักงานทำความสะอาด

32.

นายธงชัย สิทธิโชติ

พนักงานบริการ

33.

นางสาวฐิติมา เทียนไทยสงค์

นักวิชาการศึกษา

34.

นางสาวสุพรรษา ปัตถาวะโร

บรรณารักษ์

๑. ข้าราชการครู รับผิดชอบนักศึกษา ๒๐ - ๒๕ คน ต่อ ๑ กลุ่ม

๒. ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ส่งเสริมการรู้หนังสือ

๓. ครู กศน.ตำบล รับผิดชอบนักศึกษา ๔๐ - ๔๕ คน ต่อ ๑ กลุ่ม

๔. ครูศูนย์การเรียนชุมชน รับผิดชอบนักศึกษา ๘๐ - ๘๕ คน ต่อ ๑ กลุ่ม

๕. ครูผู้สอนคนพิการ รับผิดชอบนักศึกษากลุ่มเป้าหมายพิเศษ ๒๐ คน ต่อ ๑ กลุ่ม

และนักศึกษาปกติ ๒๐ - ๒๕ คน ต่อ ๑ กลุ่ม

ทำเนียบบุคลากรศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ

ทิศทางการดำเนินงานของสถานศึกษา

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้นำยุทธศาสตร์การบริหารประเทศด้านการศึกษา นโยบายกระทรวงศึกษาธิการ นโยบายสำนักงาน กศน. และนโยบาย สำนักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานีที่เกี่ยวข้องมาเป็นกรอบในการกำหนดยุทธศาสตร์และจุดเน้นการดำเนินงานของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ 2564 และแนวทางในการปฏิบัติงานตามระบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (RBM : Result Management) ประกอบด้วย ดังนี้

1. การปฏิบัติงานตามระบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ (RBM : Result Based Management)


ยึดแนวทางการปฏิบัติงานตามระบบการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ โดยมีการดำเนินการต่างๆ ตามผังระบบงานต่อไป

ผลผลิต (Outputs) หมายถึง งานบริการ หรือกิจกรรมที่เจ้าหน้าที่ทำเสร็จสมบูรณ์พร้อมส่งมอบให้ประชาชน ผู้รับบริการ ผลผลิตเป็นผลงานที่เกิดจากการดำเนินกิจกรรมโดยตรง

ผลลัพธ (Outcomes) หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นตามมา ผลกระทบ หรือเงื่อนไขที่เกิดจากผลผลิต ผลลัพธมีความสัมพันธโดยตรงกับประชาชนผูรับบริการ และสาธารณชน ดังนั้น ผลสัมฤทธิ์คือ งานบริการ หรือกิจกรรมที่เกิดจากการทํางานได้

ผลผลิต (Outputs) ตามเป้าหมาย และเกิดผลลัพธ์ (Outcomes) ตรงตามวัตถุประสงค์กล่าวคือ ผลผลิตสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้อย่างแท้จริงหรือเป็นที่พึงพอใจ เช่น ปลูกบ้านได้ ๑ หลัง (Outputs) บ้านหลังดังกล่าวน่าอยู่ มีอากาศถ่ายเทได้สะดวก (Outcomes) หรือ การซ่อมถนนได้ ๕ กิโลเมตร เป็นผลผลิต (Outputs) ถนนสายนั้นทำให้ประชาชนได้รับความสะดวกในการเดินทางจากการซ่อมแซมเป็นผลลัพธ์ (Outcomes)

2. การควบคุมคุณภาพของงาน

การดำเนินงานมีการควบคุมคุณภาพของการปฏิบัติงานตามระบบของเดมมิ่ง (Dening Circle)

2.1 การวางแผน (P : Plan) เป็นการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีในงานหรือโครงการที่ตนเองรับผิดชอบ โดยอาจทำเป็นแผนต่างหากโดยเฉพาะหรือรวมในแผนปฏิบัติการประจำปีของหน่วยงาน

2.2 การปฏิบัติ (D : Do) เป็นการนำแผนปฏิบัติการที่จัดทำไว้ลงสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมทุกงานและโครงการที่ตนเองรับผิดชอบ

2.3 การตรวจสอบประเมิน (C : Check) เป็นการจัดทำเกณฑ์การประเมินความสำเร็จของงาน จัดทำแบบประเมินและประเมินความสำเร็จของงานและโครงการที่ตนเองรับผิดชอบ

2.4 การปรับปรุงและพัฒนาการปฏิบัติงาน (A : Action) เป็นการสรุปผลการปฏิบัติงาน โดยนำผลที่ได้จากการตรวจสอบประเมินมาวิเคราะห์จัดทำรายงานผลการปฏิบัติงานและแนวทางการพัฒนางานที่ตนเองรับผิดชอบ สถานศึกษาได้กำหนดทิศทางการดำเนินงานไว้ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปีโดยได้ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี และมีผลการดำเนินการ ดังนี้


วิสัยทัศน์

“ผู้รับบริการชาวอำเภอวังสามหมอทุกช่วงวัยได้รับโอกาสทางการศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีทักษะที่จำเป็น และสมรรถนะที่สอดรับกับทิศทางการพัฒนาประเทศ สามารถดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสมบนรากฐานของหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”

พันธกิจ

1. จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพ สอดคล้อง กับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อยกระดับการศึกษา และพัฒนาสมรรถนะ ทักษะการเรียนรู้ของประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย ให้พร้อมรับ การเปลี่ยนแปลงและการปรับตัวในการดำรงชีวิตได้อย่างเหมาะสม ก้าวสู่การเป็นสังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต อย่างยั่งยืน

2. พัฒนาหลักสูตร รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อและนวัตกรรมเทคโนโลยีทางการศึกษา การวัดและประเมินผลในทุกรูปแบบให้มีคุณภาพและมาตรฐานสอดคล้องกับรูปแบบการจัดการเรียนรู้และบริบท ในปัจจุบัน

3. ส่งเสริมและพัฒนาเทคโนโลยีทางการศึกษา และนําเทคโนโลยีมาพัฒนาเพื่อเพิ่มช่องทางและโอกาส การเรียนรู้ รวมถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดและให้บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายอย่างทั่วถึง

4. ส่งเสริมสนับสนุน แสวงหา และประสานความร่วมมือเชิงรุกกับภาคีเครือข่าย ให้เข้ามามีส่วนร่วม ในการสนับสนุนและจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย และการเรียนรู้ตลอดชีวิตในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชน

5. พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายในองค์กรให้มีเอกภาพ เพื่อการบริหารราชการที่ดีบนหลักของ ธรรมาภิบาล มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และคล่องตัวมากยิ่งขึ้น

6. ยกระดับการบริหารและการพัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ สมรรถนะ คุณธรรม และจริยธรรมที่ดี เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการให้บริการทางการศึกษาและการเรียนรู้ที่มีคุณภาพมากยิ่งขึ้น

อัตลักษณ์ “ความรู้ดี มีอาชีพ”

เอกลักษณ์ “เศรษฐกิจพอเพียง”

เป้าประสงค์ และตัวชี้วัดความสำเร็จ

เป้าประสงค์

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

1. ประชาชนผู้ด้อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษารวมทั้งประชาชนทั่วไปได้รับโอกาส ทางการศึกษาในรูปแบบการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษา ตามอัธยาศัยที่มีคุณภาพอย่างเท่าเทียมและทั่วถึง เป็นไปตามบริบท สภาพปัญหาและความต้องการของแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย

1.1 ร้อยละของประชากรกลุ่มต่างๆ (กลุ่มประชากรวัยแรงงานปกติทั่วไป กลุ่มประชากรวัยแรงงานที่เป็นผู้ยากไร้ผู้ด้อยโอกาสผู้พิการผู้บกพร่องทางร่างกายและการเรียนรู้ และกลุ่มผู้สูงอายุ) ที่ได้รับบริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอย่างทั่วถึง

2. ประชาชนได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม หน้าที่ความเป็น พลเมืองที่ดีภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข ที่สอดคล้องกับหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง อันนําไปสู่การยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชน เพื่อพัฒนา ไปสู่ความมั่นคงและยั่งยืนทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม

1.2 ร้อยละของประชากรได้รับการยกระดับการศึกษา สร้างเสริมและปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม หน้าที่ความเป็นพลเมืองที่ดีภายใต้การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข

1.3 ร้อยละของประชากรได้รับการส่งเสริมการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและสามารถน้อมนำความรู้เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนได้

3. ประชาชนได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเองผ่านแหล่งเรียนรู้ ช่องทางการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ รวมทั้งมีเจตคติทางสังคม การเมือง วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม สามารถคิดวิเคราะห์ แยกแยะอย่างมีเหตุผล และนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน รวมถึงการแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างสร้างสรรค์

1.4 ร้อยละของประชาชนได้รับการพัฒนาทักษะการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ด้วยตนเองผ่านแหล่งเรียนรู้ ช่องทางการเรียนรู้ และกิจกรรมการเรียนรู้รูปแบบต่าง ๆ ตามความสนใจและความต้องการได้ และนําไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน รวมถึงการแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่างสร้างสรรค์

4. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. มีหลักสูตร สื่อ นวัตกรรม ช่องทางการเรียนรู้ และกระบวนการ เรียนรู้ในรูปแบบที่หลากหลาย ทันสมัย และรองรับกับสภาวะการเรียนรู้ในสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหา และพัฒนาคุณภาพชีวิตตามความต้องการของประชาชนและชุมชน รวมทั้งตอบสนองกับการเปลี่ยนแปลงบริบท ด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสิ่งแวดล้อม

1.5 ร้อยละของหน่วยงานและสถานศึกษา กศน.มีหลักสูตร สื่อ นวัตกรรม ช่องทางการเรียนรู้ และกระบวนการ เรียนรู้ในรูปแบบที่หลากหลาย ทันสมัย และรองรับกับสภาวะการเรียนรู้ในสถานการณ์ที่ไม่ปกติแก้ปัญหา และพัฒนาคุณภาพชีวิตตามความต้องการของประชาชนและชุมชนตามบริบทของสังคม

5. หน่วยงานและสถานศึกษา กศน. สามารถนําเทคโนโลยีทางการศึกษา และเทคโนโลยีดิจิทัล มาพัฒนาเพื่อเพิ่มช่องทางการเรียนรู้ และนำมาใช้ในการยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรู้และโอกาสการเรียนรู้ ให้กับประชาชน

1.6 ร้อยละของผู้รับบริการที่ใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของหน่วยงานและสถานศึกษานำมาใช้ในการยกระดับคุณภาพในการจัดการเรียนรู้และโอกาสการเรียนรู้ ให้กับประชาชน

6. ชุมชนและภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมทั้งการขับเคลื่อนกิจกรรมการเรียนรู้ของชุมชน

1.7 ร้อยละของสถานศึกษาที่มีภาคีเครือข่ายในการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพิ่มมากขึ้น

7. หน่วยงานและสถานศึกษามีระบบการบริหารจัดการองค์กรที่ทันสมัย มีประสิทธิภาพ และเป็นไป ตามหลักธรรมาภิบาล

1.8 ร้อยละของสถานศึกษาที่มีการพัฒนาระบบการบริหารจัดการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการดำเนินงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

8. บุคลากร กศน. ทุกประเภททุกระดับได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มทักษะและสมรรถนะในการปฏิบัติงาน และการให้บริการทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย รวมถึงการปฏิบัติงานตามสายงานอย่างมี ประสิทธิภาพ

1.9 ร้อยละของบุคลาการทุกประเภทได้รับการพัฒนาเพื่อเพิ่มทักษะและสมรรถนะในการปฏิบัติงาน และการให้บริการทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

กลยุทธ์

กลยุทธ์ที่ 1 ลุยถึงที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมาย

เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายและทั่วถึงได้แก่ การสร้างความเข้าใจและให้กลุ่มเป้าหมายเห็นความสำคัญของการศึกษาอย่างทั่วถึงโดยมีวิธีการดังนี้

1.1 ประชุมชี้แจงเจ้าหน้าที่ ครู กศน.และผู้ที่เกี่ยวข้อง

1.2 มอบหมายให้มีทีมงานในการรับผิดชอบประจำแต่ละตำบล

1.3 จัดทำแบบ การสำรวจนักศึกษาเป็นรายครัวเรือนโดยมีตำบลนำร่องในการดำเนินกิจกรรมทุกตำบล

1.4 พบปะผู้นำ/เครือข่าย สร้างความคุ้นเคย

1.5 ดำเนินการสำรวจรวยครัวเรือน/สัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายรายบุคคล

1.6 จัดทำสรุปผลการสำรวจ จัดทำฟ้าข้อมูลรายงานหมู่บ้าน

1.7 จัดตั้งศูนย์บริการข้อมูลข่าวสารแก่กลุ่มเป้าหมายในชุมชน

กลยุทธ์ที่ 2 จัดกิจกรรมหลากหลายให้กับกลุ่มเป้าหมาย ปรับวิธีเรียนเปลี่ยนวิธีสอนให้สอดคล้องกับสภาพกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่การจัดกระบวนการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับสภาพความเจริญของกลุ่มผู้เรียนผู้รับบริการ

2.1 สำรวจ/ศึกษา สภาพปัญหาและความต้องการของชุมชน

2.2 จัดทำโครงการ/กิจกรรมให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน

2.3 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างหลากหลาย เหมาะสมกับสภาพปัญหาความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย

2.4 จัดให้กลุ่มเป้าหมายใช้แหล่งเรียนรู้ในชุมชน เช่น ภูมิปัญญาชาวบ้าน

2.5 จัด/แต่งตั้งคณะกรรมการวิเคราะห์โครงการ/เครื่องมือวัดผลประเมินผลของสถานศึกษา

2.6 จัดให้มีการเทียบโอนความรู้ที่หลากหลายและสอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย เช่น การเทียบโอนการประกอบอาชีพของตนเอง การเทียบโอนจากรายได้ของตนเอง การเทียบโอนจากกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ การเทียบโอนความรู้และประสบการณ์

กลยุทธ์ที่ 3 พัฒนาแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เป็นศูนย์การเรียนรู้พัฒนาแหล่งการเรียนรู้และภูมิปัญญาให้เป็นฐาน ความรู้ของชุมชน ได้แก่การส่งเสริม สนับสนุนให้มี ศูนย์การเรียนรู้ชุมชนครบทุกที่

3.1 จัดให้มีการสำรวจ/จัดทำทำเนียบแหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่ในชุมชน

3.2 ส่งเสริม/ให้ความรู้กลุ่มเป้าหมายให้รู้ถึงคุณค่าของแหล่งเรียนรู้ในชุมชนของตนเอง

3.3 จัดกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย เช่น กิจกรรมการเรียนรู้ด้านสื่อโทรทัศน์ นิทรรศการ การฝึกปฏิบัติ การเข้าค่าย

กลยุทธ์ที่ 4 ผนึกกำลังภาคีเครือข่าย และกระจายบริการการศึกษาผนึกกำลังภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมจัดการศึกษาได้แก่การสร้างความเข้าใจกับภาคี เครือข่ายเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม

4.1 จัดแสวงหาภาคีเครือข่าย

4.2 ประสานงานขอรับการสนับสนุน ความร่วมมือ

4.3 ประชุมสร้างความเข้าใจ

4.4 ดำเนินการตามข้อตกลงที่ร่วมกันลงนามไว้

4.5 ติดตามประเมินผล

4.6 สร้างแรงจูงใจ

4.7 ประชุมสัมมนา

4.8 ฝึกอบรม ศึกษาดูงาน

4.9 ประกาศเกียรติคุณ ให้รางวัล จัดแข่งขัน

กลยุทธ์ที่ 5 พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการ จัดระบบบริหารจัดการของสถานศึกษาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริการ ได้แก่ การพัฒนาบุคลากร การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

1.1 ปรับโครงสร้างและการบริหารงาน ลดขั้นตอนการปฏิบัติงานให้คล่องตัวมากขึ้น จัดให้มีหน่วยงาน หรือผู้รับผิดชอบในการกำกับ ติดตาม ตรวจสอบมาตรฐาน และประกันคุณภาพ

1.2 จัดตั้งคณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายใน

1.3 นิเทศ ติดตาม กำกับ ดูแลสถานศึกษาศูนย์การเรียนชุมชน

1.4 ปรับปรุงบทบาทภารกิจทางสถานศึกษาให้เป็นหน่วยงาน ส่งเสริม สนับสนุน ภาคีเครือข่าย

1.5 พัฒนาบุคลากรให้มีขีดสมรรถนะที่สามารถปฏิบัติงานอย่างงมีประสิทธิภาพ

หน้าที่ในโครงสร้างการบริหารงานของสถานศึกษา

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ

หัวหน้ากลุ่มงานการศึกษานอกระดับและการศึกษาตามอัธยาศัย

(นายณัฐพงศ์ โสภิณ)


หัวหน้ากลุ่มอำนวยการ

(นางสาวกัณฐ์ธภิญค์ษา ผดุงไสย์)


กศน.อำเภอวังสามหมอ

ผู้อำนวยการ

นายชากล้า สงวนนาม


คณะกรรมการสถานศึกษา


หัวหน้ากลุ่มงานภาคีเครือข่ายและกิจกรรมพิเศษ

(นายคำใหม่ แสงใส)


· งานอำนวยการ

· งานบุคลากร งานธุรการและ

งานสารบรรณ

· งานการเงิน-บัญชี

· งานพัสดุ

· แผนงาน

· งบบริหารงบประมาณ

· งานอาคารสถานที่

· งานเทคโนโลยี งานสารสนเทศฯ

· งานประกันคุณภาพ

· งานสวัสดิการ

· งานส่งเสริมสนับสนุนภาคีเครือข่าย

· งานกิจกรรมพิเศษ

· งานกิจกรรมลูกเสือ


· งานการศึกษาขั้นพื้นฐาน

· งานการศึกษาต่อเนื่อง

· งานการศึกษาตามอัธยาศัย

· งานส่งเสริมการเรียนรู้

· งานกิจกรรมนักศึกษาและ

แนะแนวการศึกษา

· งานพัฒนาหลักสูตรและ

พัฒนาวิชาการ

· งานทะเบียน วัดผลและ

ประเมินผล

· งานบริหาร กศน.ตำบล

· งานการศึกษาสำหรับผู้พิการ

@ จำนวนผู้เรียน ผู้รับบริการ และจำนวนผู้จัดการเรียนรู้ (ปีงบประมาณที่จัดทำรายงานการประเมินตนเอง)ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔

หลักสูตร/ประเภท

จำนวนผู้เรียน (คน)


รวมจำนวน

(คน)

จำนวนผู้จัดการเรียนรู้ (คน)


ชาย

หญิง



การศึกษาขั้นพื้นฐาน





- ระดับประถมศึกษา

137

197

334

๓๕

- ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

478

439

917

๕๔

- ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

718

730

1,448

๕๔

รวมจำนวน (คน)

1,333

1,366

2,699

๑๔๓

การศึกษาต่อเนื่อง





๑. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน

- ๑ อำเภอ ๑ อาชีพ

- พัฒนาอาชีพระยะสั้น (กลุ่มสนใจ)

- ชั้นเรียนวิชาชีพ (๓๑ ชั่วโมงขึ้นไป)

๒๐

๔๒

๘๑

๖๐

๗๑๘

๒๒๕

๘๐

๗๖๐

๓๐๖

๕๒

๑๘

๒. โครงการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

๓๕

๑๔๕

๑๘๐

๑๒

๓. โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน

๕๓

๑๒๗

๑๘๐

๑๒

๔. โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต

๗๖

๑๖๔

๒๔๐

๑๒

๕. โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ

๒๑

๒๓

๔๔

รวมจำนวน (คน)

๓๒๘

๑,๔๖๒

๑,๗๙๐

๑๑๒

การศึกษาตามอัธยาศัย





โครงการวันเด็กแห่งชาติ

-

-

-

ไม่ได้ดำเนินการจัดกิจกรรมเนื่องจากสถานการณ์โควิด-19

ยังคงระบาดเพิ่มขึ้น

โครงการรับบริจาคหนังสือ

73

54

127

127

โครงการห้องสมุดเคลื่อนที่

322

502

824

824

รวมจำนวน (คน)

395

556

951

951

หมายเหตุ สถานศึกษาสามารถปรับเปลี่ยนแบบโครงสร้างตารางข้างต้นให้เหมาะสมได้ตามความต้องการ และเป็นไปตามข้อมูลจริงของสถานศึกษา โดยข้อมูลต้องสะท้อนถึงจำนวนผู้เรียน ผู้รับบริการ และจำนวนผู้จัดการเรียนรู้

@จำนวนบุคลากร (ปีงบประมาณที่จัดทำรายงานการประเมินตนเอง)

ประเภท/ตำแหน่ง

จำนวน (คน)






ต่ำกว่า ป.ตรี

ป.ตรี

ป.โท

ป.เอก

รวมจำนวน

ข้าราชการครู

บุคลากรทางการศึกษา

ลูกจ้างประจำ

อื่น ๆ (ระบุ) ..............................

พนักงานราชการ

- ครูอาสาสมัคร

- ครู กศน. ตำบล

๑๔

๑๗

- ครูศูนย์การเรียนชุมชน

บรรณารักษ์อัตราจ้าง

นักวิชาการศึกษา

ครูผู้สอนคนพิการ

พนักงานบริการ

รวมจำนวน

๒๘

๓๔

@ งบประมาณ (ปีงบประมาณที่จัดทำรายงานการประเมินตนเอง)

- เงินงบประมาณ 2,058,371 บาท

- เงินนอกงบประมาณ ………………-………………….. บาท

รวมจำนวนเงิน 2,058,371 บาท

@ กศน.ตำบล/แขวง/ศูนย์การเรียนชุมชน

กศน.ตำบล/แขวง

ที่ตั้ง

ผู้ประสานงาน/ผู้รับผิดชอบ

กศน.ตำบลวังสามหมอ

หมู่ที่ ๕ ต.วังสามหมอ อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี

นายอุทัย เหล่ามาลา

กศน.ตำบลหนองหญ้าไซ

หมู่ที่ ๔ ต.หนองหญ้าไซ อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี

น.ส.สุภาพร ฤทธิขันธ์

กศน.ตำบลหนองกุงทับม้า

หมู่ที่ ๑ ต.หนองกุงทับม้า อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี

นายปริญญา แก้ววิชัย

กศน.ตำบลบะยาว

หมู่ที่ ๗ ต.บะยาว อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี

นางวิมล โสภิณ

กศน.ตำบลผาสุก

หมู่ที่ ๗ ต.ผาสุก อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี

นายอนันต์ โชติรักษา

กศน.ตำบลคำโคกสูง

หมู่ที่ ๑ ต.คำโคกสูง อ.วังสามหมอ จ.อุดรธานี

นางอรวรรณ ศรีหริ่ง

ศูนย์การเรียนชุมชน

ที่ตั้ง

ผู้ประสานงาน/ผู้รับผิดชอบ

ศรช.บ้านวังสามหมอ

ตำบลวังสามหมอ

นายสุริยะ ลีบ่อน้อย

ศรช.บ้านแหลมทอง

ตำบลคำโคกสูง

น.ส.พรรษวรรณ วรรณพราหมณ์

ศรช.บ้านไทรทอง

ตำบลหนองหญ้าไซ

น.ส.ภัสรา ภูนิคม

ศรช.บ้านดงง่าม

ตำบลคำโคกสูง

น.ส.สุธาสินี วันชูเสริฐ

ศรช.บ้านกลิ่นนารี

ตำบลหนองกุงทับม้า

น.ส.ศิรินภา ดวงบุญมี

ศรช.บ้านผาสุก

ตำบลผาสุก

น.ส.รัตน์สุดา จันทร์รักษ์

@ แหล่งเรียนรู้

แหล่งเรียนรู้

ด้าน

ที่อยู่/เบอร์โทรศัพท์

ผู้รับผิดชอบ

ภูเงินเมล่อนฟาร์ม

เศรษฐกิจพอเพียง

๑๐๘ หมู่๙ บ้านภูเงิน ต.หนองกุงทับม้า

๐๙๒๖๘๙๐๕๘๖

น.ส.จรินทร์พร อนุมาตย์

การทำปลาร้า

อาชีพ

ม.๖ บ้านวังใหญ่ ต.หนองกุงทับม้า

๐๙๙๖๘๙๙๕๘๔

นางละมุล โยธาจันทร์

ศกพ. บ้านโคกสว่าง

เศรษฐกิจพอเพียง

๑๓ ม.๕ บ้านโคกสว่าง ต.บะยาว

๐๙๕๖๖๔๓๗๗๘

นายประสงค์ หลวงทำเม

การปลูกผักหวานป่า

อาชีพ

๔๕ หมู่ที่ ๗ บ้านนาโปร่ง ต.บะยาว

๐๙๓-๕๑๗๗๓๙๐

นางสาวอุบล ต้นกันยา

ปลาส้มสายเดี่ยว

อาชีพ

๑๖๘ ม.๘ บ้านแหลมทอง ต.คำโคกสูง

๐๘๑๓๙๑๔๑๓๖

นางสาวเล็ก ผ่านแผ้ว

สวนเกษตรผสมผสาน

เศรษฐกิจพอเพียง

ม.๙ บ้านน้อยคำเม็ก ต.คำโคกสูง

๐๙๓๓๙๘๓๒๓๒

นายละไม ไชยโวหาร

การเลี้ยงปลาในกระชัง

อาชีพ

หมู่ที่ ๘ บ้านแหลมทอง ต.คำโคกสูง

๐๖๑๐๔๖๖๕๐๗

นายสุพัฒน์ โคตรลา

แปรรูปอาหารจากปลา

อาชีพ

๑๖๘ หมู่ที่ ๘ บ้านแหลมทอง

ต.คำโคกสูง

๐๙๘๗๘๕๖๖๐๖

ทองเพียน ผ่านแผ่ว

เกษตรผสมผสานแบบพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง

หมู่ ๖ บ้านวังสามหมอ ต.วังสามหมอ

๐๘๖๘๖๒๘๑๐๓

นายสุวิจักษณ์ ใสศรัทธาวงษ์

แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงแบบผสมผสาน

เศรษฐกิจพอเพียง

หมู่ที่ ๔ บ้านโนนสะอาด ต.วังสามหมอ

๐๙๑๘๖๑๓๗๔๗

นายโกสินธุ์ ศรีโลห้อ

ฟาร์มเห็ดป้าแกะวังสามหมอ

อาชีพ

หมู่ที่ ๑๓ บ้านวังสามหมอ ต.วังสามหมอ

๐๙๘๑๔๙๓๙๘๘

นางพิจิตร ถาวรเลิศ

การปลูกผักหวานป่า

อาชีพ

บ้านคำยาง ม.๓ ต.ผาสุก

๐๘๒๗๓๖๕๘๓๕

นายบรรดิษฐ์ ศรีประไหม

สวนตาย้อ

เศรษฐกิจพอเพียง

หมูที่ ๙ บ้านวังทอง ต.ผาสุก

๐๙๘๖๐๘๔๓๖๖

นางสาวบุญสอน พรมโคตร

เกษตรผสมผสาน

เศรษฐกิจพอเพียง

๑๕๖หมู่ ๒ บ้านโคกสะอาด

ต.หนองหญ้าไซ ๐๙๓๓๒๑๓๔๘๙

นายเดชา ผาอาจ

บ้านหนังสือชุมชน

ม.๑

หมวดส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

หมู่ 1 บ้านโคกใหญ่พัฒนา 0673123327

๑.นางบัวผัน จับุรม

แหล่งเรียนรู้

ด้าน

ที่อยู่/เบอร์โทรศัพท์

ผู้รับผิดชอบ

บ้านหนังสือชุมชน ม.๒

หมวดส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

หมู่ 2 บ้านดงง่าม 0847864692

๒.นายดาว กาพย์กลอน

บ้านหนังสือชุมชน ม.๓

หมวดส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

89 ม.3 บ้านท่าลาด 0842481510

๓.นายศรีคราน ศรีสถาน

บ้านหนังสือชุมชน ม.๔

หมวดส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

4 บ้านโคกใหญ่พัฒนา 099788616

๔.นายสงัด คำพิมาร

บ้านหนังสือชุมชน ม.๕

หมวดส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

หมู่ 5 บ้านนางาม 0878121359

๕.นายกิตติศักดิ์ ปะกิเสนัง

บ้านหนังสือชุมชน ม.๖

หมวดส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

22 หมู่ 6 บ้านวังไชย 0829587062

๖.นายจิระศักดิ์ แสนสำฤทธิ์

บ้านหนังสือชุมชน ม.๗

หมวดส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

หมู่ 7 บ้านท่าสำราญ 0982746245

๗.นายไพฑูรย์ สายจำปา

บ้านหนังสือชุมชน ม.๘

หมวดส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

13/1 หมู่ 8 บ้านแหลมทอง 0899869895

๘.นายสุพัฒน์ โคตรลา

บ้านหนังสือชุมชน ม.๙

หมวดส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

หมู่ 9 บ้านน้อยคำเม็ก 0987856606

๙.นายละมัย ไชยโวหาร

บ้านหนังสือชุมชน ม.๑

หมวดส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

บ้านบะยาว ม.1

นายคำพัน คำชนะชัย

บ้านหนังสือชุมชน ม.๒

หมวดส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

บ้านนาแก หมู่2

นายสมหมาย ไชยราช

บ้านหนังสือชุมชน ม.๓

หมวดส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

บ้านนานกชุม ม.3

นายคำสี แก้วแสนชัย

บ้านหนังสือชุมชน ม.๔

หมวดส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

บ้านนาตาด ม.4

นายคำผัน วัจนะพันธ์

บ้านหนังสือชุมชน ม.๕

หมวดส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

บ้านโคกสว่าง ม.5

นายธาตุ ภักดีนัก

บ้านหนังสือชุมชน ม.๖

หมวดส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

บ้านโคกเล้า ม. 6

นายเจริญ พละลี

บ้านหนังสือชุมชน ม.๗

หมวดส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

บ้านนาโปร่ง ม.7

นายสาคร คำมงคล

บ้านหนังสือชุมชน ม.๘

หมวดส่งเสริมการอ่านและการเรียนรู้

บ้านดงง่ามน้อย ม.8

นายอุทัย วรรณพราหมณ์

@ ภาคีเครือข่าย

ภาคีเครือข่าย

(กลุ่ม องค์กร และหน่วยงาน)

ด้าน

ที่อยู่

เบอร์โทรศัพท์

อบต.หนองกุงทับม้า

ปกครองส่วนท้องถิ่น

รพ.สต.หนองกุงทับม้า

วิทยากร

โรงเรียนบ้านหนองกุงทับม้า

สถานที่จัดสอบ

โรงเรียนบ้านนาตาด นาโปร่ง

วิทยากร

หมู่ที่ ๔ ต.บะยาว

โรงเรียนบ้านโคกเล้า

วิทยากร

หมู่ที่ ๗ ต.บะยาว

โรงเรียนนานกชุม นาชุมพร

วิทยากร

หมู่ที่ ๓ ต.บะยาว

โรงเรียนบ้านโคกสว่าง

วิทยากร

หมู่ที่ ๕ ต.บะยาว

โรงเรียนนานกชุมวิทยาคม

วิทยากร

หมู่ที่ ๓ ต.บะยาว

รพสต.นาแก-ภูดิน

วิทยากร

หมู่ที่ ๑๐ ต.บะยาว

เทศบาลตำบลบะยาว

สถานที่ กศน.ตำบล

หมู่ที่ ๓ ต.บะยาว

โรงเรียนเลิงถ่อนโนนสมบูรณ์

วิทยากร

หมูที่ ๕ ต.หนองหญ้าไซ

๐๔๒-๒๕๐๒๙๔

เทศบาลตำบลหนองหญ้าไซ

วิทยากร

หมู่ที่ ๑ ต.หนองหญ้าไซ

โรงเรียนบ้านคำโคกสูง

วิทยากร

หมู่ที่ ๑ ต.คำโคกสูง

อบต.คำโคกสูง

วิทยากร

หมู่ที่ ๔ ต.คำโคกสูง

โรงเรียนบ้านคำยาง

วิทยากร

หมู่ที่ ๓ ต.ผาสุก

๐๘๗-๘๕๖๐๙๐๒

โรงเรียนคำยางพิทยา

วิทยากร

หมู่ที่ ๓ ต.ผาสุก

หน่วยป้องกันรักษาป่าที่ อด.๑๐

วิทยากร

หมู่ที่ ๓ ต.ผาสุก

โครงการพัฒนาพื้นที่ภูผาหัก

วิทยากร/กล้าไม้

หมู่ที่ ๑๓ ต.ผาสุก

๐๙๒-๙๔๑๙๙๗๘

เทศบาลตำบลผาสุก

วิทยากร

หมู่ที่ ๒ ต.ผาสุก

๐๘๑-๗๔๙๓๗๓๒

@ ภูมิปัญญา

บุคคล (ปราชญ์ชาวบ้าน ภูมิปัญญา ผู้นำ)

ความรู้ ความสามารถ

ที่อยู่/เบอร์โทรศัพท์

นางละมุล โยธาจันทร์

แปรรูปปลา

หมู่ที่ ๖ ต.หนองกุงทับม้า

นางนิยม ใจขาน

การทำลูกประคบ

หมู่ที่ ๓ ต.หนองกุงทับม้า

นายบุญจันทร์ ภูนาเพชร

เกษตรผสมผสาน หมอยาสมุนไพร

๐๙๘-๒๐๒๒๙๗๔

นายไพโรจน์ กิติราช

เกษตรผสมผสาน

๐๘๐-๑๘๔๒๙๕๐

นายประสงค์ หลวงทำเม

เกษตรผสมผสาน

๐๘๙-๘๖๑๖๕๒๐

นายสอน เกษโสภา

วัฒนธรรมภูไท

๐๖๒-๘๙๕๙๕๓๐

นายวิบูลย์ ศิลาพจน์

เกษตรผสมผสาน

๐๘๗-๘๕๘๔๖๕๖

นางนภาพร ผ่านชมพู

การทอผ้าแพรปลาไหล

๐๘๖-๔๒๗๓๐๒๙

นายเหวิน แก้วอินทร์

จักสานจากไม้ไผ่

๐๙๘-๖๓๗๔๑๖๗

นายแก้ว วรรณพราหมณ์

หมอทำขวัญ

๐๙๒-๑๓๘๗๒๖๗

นางรัตนาพร ศรีสาร

การทำสีย้อมผ้าจากธรรมชาติ

๐๘๕-๙๒๘๗๑๘๒

นางบุญล้อม ภูเลื่อมใส

ทอผ้า การทำข้าวโป่ง

๑๘๔ หมู่ที่ ๑ ต.คำโคกสูง

นายบวร ปัตถาวโร

กำนันตำบลผาสุก

๐๘๔-๒๓๒๑๐๓๔

นายไพรัตน์ มหาโคตร

การปลูกผัก

๐๘๕-๔๖๔๙๖๐๓

นางทับทิม ตลับทอง

การทำพรมเช็ดเท้า

หมู่ที่ ๑๒ ต.ผาสุก

น.ส.คำผาย อุประ

การทอผ้าย้อมสีธรรมชาติ

หมู่ที่ ๙ ต.ผาสุก

หมายเหตุ ให้บันทึกข้อมูลเฉพาะที่มีส่วนสนับสนุน ร่วมจัด หรือจัดกิจกรรม กศน. ในปีงบประมาณที่จัดทำรายงานการประเมินตนเอง

@ แผนปฏิบัติการประจำปี (ปีงบประมาณที่จัดทำรายงานการประเมินตนเอง) ปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔

โครงการ/กิจกรรม

วัตถุประสงค์

กลุ่มเป้าหมาย

จำนวนเป้าหมาย

พื้นที่

ระยะเวลา

งบประมาณ

๑.เสริมสร้างพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย/กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต

๑. เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจในการปกครองระบอบประชาธิปไตยความเป็นพลเมืองดี

๒. เพื่อปลูกฝังคุณธรรมสร้างวินัย จิตสาธารณะและยึดมั่นในสถาบันหลักของชาติและการมีจิตสาธารณะ

ประชาชน

๑๒๐

ตำบล

๑๗ ธันวาคม๖๓

ต่อเนื่อง

๑๐,๘๐๐

๒.จิตอาสาพัฒนาถิ่นไทยงามตามวิถีพอเพียง/กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน

1 เพื่อให้ประชาชนเป็นผู้มีจิตอาสาในการพัฒนาชุมชน เกิดความสามัคคี

2 เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมภายในชุมชนให้สะอาด สวยงาม และน่าอยู่อาศัย

3 เพื่อให้ประชาชนดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ประชาชน

๙๐

ตำบล

๒๑ ธันวาคม๖๓

ต่อเนื่อง

๒๗,๙๐๐

๓.กิจกรรมการศึกษาเพื่อการเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง/กิจกรรมการเรียรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

๑. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้เรียนรู้หลักการทรงงานของพ่อและศาสตร์ของพระราชา

๒. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่

๓. เพื่อนำความรู้ไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานและใช้ในชีวิตประจำวันได้

๔.เพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกในการเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์

ประชาชน

๙๐

ตำบล

๒๒ ธันวาคม๖๓

ต่อเนื่อง

๙,๗๕๐

๔.โครงการแข่งขันกีฬาชาวไร่อ้อยเกมส์

๑.เพื่อให้ครู กศน.อำเภอวังสามหมอตระหนักถึงความสำคัญของการออกกำลังกาย โดยใช้กีฬาเป็นสื่อในการพัฒนาร่างกายและจิตใจ

๒.เพื่อให้คณะครู กศน.อำเภอวังสามหมอ มีระเบียบวินัย เคารพกฎกติกา และเป็นผู้มีน้ำใจเป็นนักกีฬา

๓.เพื่อให้คณะครูมีสุขภาพแข็งแรง ทั้งทางกายและทางใจ พร้อมปรับภาวะอารมณ์ของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

นักศึกษา และบุคลากร กศน.อำเภอวังสามหมอ

๙๒

สนามกีฬาโรงงานน้ำตาลกุมภวาปี อำเภอกุมภวาปี จังหวัดอุดรธานี

๒๒-๒๓ ธันวาคม ๖๓

๔๔,๕๖๐

๕.โครงการพัฒนาบุคลากรด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

๑.เพื่อให้บุคลากร กศน.อำเภอวังสามหมอ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ

๒.เพื่อให้บุคลากร กศน.อำเภอวังสามหมอ สามารถร้างนวัตกรรมส่งเสริมการเรียนการสอนของสถานศึกษาได้

บุคลากร กศน.ทุกคน

๓๔

กศน.อำเภอ

๖-๗ มกราคม๖๔

ค่าจัดการเรียนการสอน๑๔,๒๔๐ บาท

๖.โครงการแข่งขันกีฬาคณะครูและนักศึกษา กศน.อุดรธานี เกมส์ ครั้งที่ ๖

๑.เพื่อให้ครู กศน.อำเภอวังสามหมอตระหนักถึงความสำคัญของการออกกำลังกาย โดยใช้กีฬาเป็นสื่อในการพัฒนาร่างกายและจิตใจ

๒.เพื่อให้คณะครู กศน.อำเภอวังสามหมอ มีระเบียบวินัย เคารพกฎกติกา และเป็นผู้มีน้ำใจเป็นนักกีฬา

๓.เพื่อให้คณะครูมีสุขภาพแข็งแรง ทั้งทางกายและทางใจ พร้อมปรับภาวะอารมณ์ของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

คณะครู และนักศึกษา กศน.

๗๒

สนามกีฬา มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ วิทยาเขตอุดรธานี

๗-๘ มกราคม ๖๔

ทั่วไป ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน จำนวนเงิน ๔๒,๒๐๐บาท

๗.โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ชั้นเรียนวิชาชีพ (๓๑ ชั่วโมงขึ้นไป)

๑.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ

๒.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้มาใช้พัฒนาคุณภาพชีวิตและการประกอบอาชีพได้

ประชาชนทั่วไปตำบลละ ๒๐ คน

๑๒๐

กศน.ตำบลทั้ง ๖ แห่ง

๑๒-๑๙

มกราคม๖๔

ต่อเนื่อง

ตำบลละ

๖๐,๐๐๐

๘.โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรระยะสั้น

(ไม่เกิน ๓๐ ชั่วโมง)

๑.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ

๒.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้มาใช้พัฒนาคุณภาพชีวิตและการประกอบอาชีพได้

ประชาชน

๑๘๐

ตำบล

๒๐-๒๓

มกราคม๖๔

ต่อเนื่อง

ตำบลละ ๔๘,๐๐๐

๙.โครงการมหกรรมการแข่งขันทักษะทางวิชาการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔

๑.เพื่อให้นักศึกษาได้มีทักษะและประสบการณ์ในการเข้าร่วมแข่งขันทักษะทางวิชาการ

๒.เพื่อให้นักศึกษาได้แสดงความสามารถของตนเองให้เป็นที่ยอมรับของสังคม

๓.เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์งานด้านวิชาการ

นักศึกษา กศน.และครู กศน.อำเภอวังสามหมอ

๖๐

กศน.ตำบลโนนสูง

๒๗-๒๘ มกราคม ๖๔

ค่ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียนจำนวน

๓๑,๗๐๐ บาท

ค่ากิจกรรมการจัดการเรียนการสอนจำนวน ๒๒,๓๖๐ บาท รวมทั้งสิ้น ๕๔,๐๖๐ บาท

๑๐.โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน

หนึ่งอำเภอ หนึ่งอาชีพ

เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้ความสามารถด้านการประกอบอาชีพและพัฒนาการประกอบอาชีพได้

ประชาชน

กลุ่มละ ๒๐

๒ กลุ่ม

๔๐

บะยาว

หนองหญ้าไซ

๑-๘ กุมภาพันธ์

๖๔

ต่อเนื่อง

ตำบลละ ๒๖,๐๐๐

๑๑.โครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ

๑ เพื่อฝึกอบรมภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพให้กับประชาชนในอำเภอวังสามหมอ

๒ เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมตามโครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ และดำเนินชีวิตประจำวันได้

ประชาชน

๒๐

กศน.อำเภอ

๙-๑๒ กุมภาพันธ์๖๔

ต่อเนื่อง

๑๔,๔๐๐

๑๒.โครงการยุวกาชาด

1 เพื่อสนับสนุนภารกิจของสำนักงานยุวกาชาดในการปลูกฝังอบรมให้เป็นคนดี มีคุณธรรมจริยธรรม สร้างสรรค์สังคมด้วยจิตอาสาเพื่อมุ่งสู่ความรับผิดชอบตนเองและสังคม

2.เพื่อให้อาสายุวกาชาด มีความรู้ ความเข้าใจในภารกิจของสภา กาชาดไทยและเกิดทักษะในการจัด กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์

นัก

ศึกษา

100

หอประชุมอำเภอวังสามหมอ

18-20

กุมภาพันธ์2564

51,000 บาท

ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน

๑๓.โครงการค่ายพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์การสอบวัดความรู้ระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓

๑. เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมด้านวิชาการแก่นักศึกษา

๒. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา ตามสาระการเรียนรู้

๓.เพื่อส่งเสริมพัฒนากระบวนการวัดผลและประเมินผลให้เป็นกลไกในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน

๔.เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

นัก

ศึกษา

๑๐๐

กศน.อำเภอ

๒๓-2๔

กุมภาพันธ์2564

พัฒนาคุณภาพผู้เรียน เป็นเงิน ๔๙,๔๐๐ บาท

๑. ๑๔.โครงการค่ายวิชาการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ประจำภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓

๑. เพื่อสรุปบทเรียนตามรายวิชาประจำภาคเรียน

๒. เพื่อเรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่มแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการเรียนรู้ที่กว้างขึ้น มีความคิดริเริ่มและสร้างสรรค์ตัดสินใจในการแก้ปัญหาได้อย่างมีเหตุผล

๓. เพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่ทันสมัยและมีประสิทธิภาพ เอื้อต่อการเรียนรู้สำหรับทุกคน สามารถเรียนได้ทุกที่ทุกเวลา

๔.เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในระดับที่สูงขึ้น

นักศึกษา กศน.ทั้ง ๖ ตำบล ๆ ละ ๕๐ คน

๓๐๐

กศน.ตำบลทั้ง ๖ แห่ง

๓-๔ มีนาคม๒๕๖๔

ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน จำนวน ๙๙,๗๐๐ บาท

๒. ๑๕.โครงการค่ายส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวติ

1. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้ และตระหนักถึงคุณค่าคุณธรรมจริยธรรม วัฒนธรรมอันดีงาม

2. เพื่อให้นักศึกษานำความรู้มาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน

นักศึกษา กศน.ทั้ง ๖ ตำบล

๓๐๐

กศน.ตำบลทั้ง ๖ ตำบล

๑๗ มีนาคม ๖๔

กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน จำนวน ๔๙,๐๐๐ บาท

๓. ๑๖.โครงการแข่งขันกีฬา “กศน.ธานี เกมส์ PHUTHANI ONIE GAMES”

๑.เพื่อให้ครู กศน.อำเภอวังสามหมอตระหนักถึงความสำคัญของการออกกำลังกาย โดยใช้กีฬาเป็นสื่อในการพัฒนาร่างกายและจิตใจ

๒.เพื่อให้คณะครู กศน.อำเภอวังสามหมอ มีระเบียบวินัย เคารพกฎกติกา และเป็นผู้มีน้ำใจเป็นนักกีฬา

๓.เพื่อให้คณะครูมีสุขภาพแข็งแรง ทั้งทางกายและทางใจ พร้อมปรับภาวะอารมณ์ของตนเองให้อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

บุคลากร กศน.ทุกคน

(นศ.มอบโนนสะอาด และกุมภวาไป)

๓๒

ม.ราชภัฎเลย

๒๒-๒๓ มีนาคม ๖๔

ค่ากิจกรรมการจัดการเรียนการสอน ๔๒,๙๖๐ บาท

๔. ๑๗.ค่ายพัฒนาผู้เรียนเพื่อเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยี (ICT)

๑. เพื่อให้นักศึกษามีความรู้และทักษะด้านการใช้คอมพิวเตอร์/เครื่องมืออิเล็กทรอนิกส์ในการสืบค้นข้อมูล

๒. เพื่อให้นักศึกษาได้พัฒนาทักษะการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยี (ICT) และสามารถเรียนรู้ผ่านสื่อออนไลน์ได้

นักศึกษา กศน.อำเภอวังสามหมอ ทั้ง ๖ ตำบล

๑๐๐

ห้องประชุมบ้านวังไม้ กศน.อำเภอวังสามหมอ

๒๖ มีนาคม ๒๕๖๔

ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน จำนวนเงิน ๑๘,๑๕๕ บาท

๕. ๑๘.โครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อคงพัฒนาการทางกายจิตและสมองของผู้สูงอายุ ประจำมีงบประมาณ ๒๕๖๔

1 จัดและส่งเสริมการจัดกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิตให้แก่ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม

2 เพื่อพัฒนาการทางร่างกาย จิตและสมองของผู้สูงอายุป้องกันภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ

ผู้สูงอายุ

๑๕๐

กศน.ตำบลบะยาว และ กศน.ตำบลผาสุก

๓๐ มีนาคม ๖๔

รายจ่ายอื่น จำนวน ๑๐,๕๐๐ บาท

๖. ๑๙.โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนระยะสั้น กลุ่มสนใจ (เพิ่มเติม) หลักสูตรการทำเจลแอลกอฮอล์

๑. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการปฏิบัติตนในการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคโควิด-๑๙

๒. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ทักษะ และเรียนรู้กระบวนการขั้นตอนวิธีการผลิตเจลแอลกอฮอล์ล้างมือ

ประชาชน

๔๐

กศน.ตำบลบะยาว กศน.ตำบลผาสุก กศน.ตำบลคำโคกสูง และ กศน.ตำบลวังสามหมอ

๒๕ พฤษภาคม ๖๔

งบรายจ่ายอื่น

วิชาชีพระยะสั้น ไม่เกิน 30 ชม. จำนวน ๘,๐๐๐ บาท

๗. ๒๐.โครงการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรคโควิด-๑๙

เพื่อให้ความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตนและควบคุมป้องกันโรคโควิด-๑๙

ประชาชน

๑๒๐

กศน.ตำบลทั้ง ๖ ตำบล

๘ มิถุนายน ๖๔

ผลผลิตที่ 4 การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต

จำนวน ๑๐,๘๐๐ บาท

๒๑.โครงการการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำเนินชีวิตอย่างยั่งยืน

๑.เพื่อให้ผู้ร่วมโครงการได้เรียนรู้หลักการทรงงานของพ่อและศาสตร์ของพระราชา

๒.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้เรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่

๓.เพื่อนำความรู้ไปปรับใช้ในการปฏิบัติงานและใช้ในชีวิตประจำวันได้

๔.เพื่อเสริมสร้างจิตสำนึกในการเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์

ประชาชน

๙๐

กศน.ตำบลทั้ง ๖ แห่ง

๙ มิถุนายน ๖๔

ผลผลิตที่ ๔ การเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน ๙,๗๕๐ บาท

๘. ๒๒.โครงการจิตอาสาพัฒนาชุมชนเสริมสร้างจิตสำนึกพลเมืองที่ดีตามวิถีประชาธิปไตย

1 เพื่อให้ประชาชนเป็นผู้มีจิตอาสาในการพัฒนาชุมชน เกิดความสามัคคี

2 เพื่อพัฒนาสภาพแวดล้อมภายในชุมชนให้สะอาด สวยงาม และน่าอยู่อาศัย

3 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนมีคุณธรรมมีจิตสำนึกสาธารณะในการดำเนินชีวิตตามวิถีประชาธิปไตย

ประชาชน

๙๐

กศน.ตำบลทั้ง ๖ แห่ง

๑๐ มิถุนายน ๖๔

ผลผลิตที่ 4 การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน

จำนวน ๒๖,๑๐๐ บาท

๙. ๒๓.โครงการกิจกรรมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรระยะสั้น ไม่เกิน ๓๐ ชั่วโมง

๑.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ

๒.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้มาใช้พัฒนาคุณภาพชีวิตและการประกอบอาชีพได้

กลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่า ๑๕ คน ตำบลละ ๔ กลุ่ม

๓๖๐

กศน.ตำบลทั้ง ๖ แห่ง

๒๒-๒๕ มิถุนายน ๖๔

งบรายจ่ายอื่น โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน(วิชาชีพระยะสั้น ไม่เกิน 30 ชม.)

จำนวน ๔๘,๐๐๐ บาท

๑๐. ๒๔.โครงการกิจกรรมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรชั้นเรียนวิชาชีพ (๓๑ ชั่วโมงขึ้นไป)

๑.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ

๒.เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้มาใช้พัฒนาคุณภาพชีวิตและการประกอบอาชีพได้

กลุ่มเป้าหมายกลุ่มละ ๒๐ คน ตำบลละ ๑ กลุ่ม

๑๒๐

กศน.ตำบลทั้ง ๖ แห่ง

๑๔-๒๑ มิถุนายน ๖๔

งบรายจ่ายอื่น โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (ชั้นเรียนวิชาชีพ 31 ชม.ขึ้นไป) จำนวน ๖๐,๐๐๐ บาท

๒๕.โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน

๑๑. หนึ่งอำเภอ หนึ่งอาชีพ

1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมมีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ

2 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้มาใช้พัฒนาคุณภาพชีวิตและการประกอบอาชีพได้

ประชาชน

กลุ่มละ ๒๐

๒ กลุ่ม

๔๐

กศน.ตำบลคำโคกสูง และ กศน.ตำบลวังสามหมอ

๒๓-๓๐ มิถุนายน ๖๔

ต่อเนื่อง

ตำบลละ ๒๖,๐๐๐

๑๒. ๒๖.โครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อคงพัฒนาการทางกายจิตและสมอง

๑ จัดและส่งเสริมการจัดกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิตให้แก่ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม

๒ เพื่อพัฒนาการทางร่างกาย จิตและสมองของผู้สูงอายุป้องกันภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ

ผู้สูงอายุ

๑๕๐

กศน.ตำบลบะยาว และ

๒๙ มิถุนายน ๖๔

รายจ่ายอื่น จำนวน ๑๐,๕๐๐ บาท

๑๓. ๒๗โครงการ ค่ายกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพื่อเรียนรู้สู้ภัยไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ ๒๐๑๙

๑. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับการแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนา-๑๙

๒. เพื่อจัดหารสื่อประกอบการเรียนรู้เกี่ยวกับโรคไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙

นักศึกษา กศน.ทั้ง ๖ ตำบล

นักศึกษา กศน.ทั้ง ๖ ตำบล

กศน.ตำบลทั้ง ๖ แห่ง

๙ ก.ค. ๒๕๖๔

๓๗,๘๐๐ บาท

๑๔. ๒๘.โครงการค่ายกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพื่อเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมไทย

๑. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา กศน.อำเภอวังสามหมอ ด้านคุณธรรม จริยธรรมเห็นความสำคัญของพระพุทธศาสนา

๒. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษา กศน.อำเภอวังสามหมอ รักษาไว้ซึ่งขนมธรรมเนียมประเพณีการทำบุญตักบาตรและสร้างจิตสำนึกในการทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา เนื่องในวันอาสาฬหบูชา

๓. เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษา กศน.อำเภอวังสามหมอ รู้จักบำเพ็ญประโยชน์เพื่อส่วนรวมซึ่งเป็นสังคมแห่งการอยู่ร่วมกัน มีความสมัครสมานสามัคคีในหมู่คณะ

นักศึกษา กศน.ทั้ง๖ ตำบล

๑๘๐

กศน.ตำบลทั้ง ๖ แห่ง

๒๐ กรกฎาคม ๖๔

ค่ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จำนวน ๓๓,๘๖๒ บาท

๑๕. ๒๙.โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล

เพื่อพัฒนาทักษะ ความรู้ให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์โปรแกรม Microsaft office

ประชาชน กศน.ตำบล ๓ ตำบล

๗๕

กศน.ตำบลวังสามหมอ กศน.ตำบลคำโคกสูง

กศน.ตำบลหนองหญ้าไซ

๒๒-๒๓ กรกฎาคม ๖๔

รายจ่ายอื่น โครงการดิจิทัลชุมชน จำนวน ๑๙,๘๐๐ บาท

๑๖. ๓๐.โครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อคงพัฒนาการทางกายจิตและสมองของผู้สูงอายุ (ไตรมาส ๓-๔ เพิ่มเติม)

๑ จัดและส่งเสริมการจัดกิจกรรมการศึกษาตลอดชีวิตให้แก่ผู้สูงอายุกลุ่มติดสังคม

๒ เพื่อพัฒนาการทางร่างกาย จิตและสมองของผู้สูงอายุป้องกันภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ

ประชาชนทั้ง ๖ ตำบล

๒๔๐

กศน.ตำบลทั้ง ๖ แห่ง

๔ สิงหาคม ๖๔

รายจ่ายอื่น จำนวน ๑๖,๘๐๐ บาท

๑๗. ๓๑.โครงการกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านจิตสาธารณะ

- จัดหาสื่อ

ภาคีเครือข่ายทั้ง ๖ ตำบล นักศึกษา

120

กศน.ตำบลทั้ง ๖ แห่ง

20 สิงหาคม.64

24,000 บาท

๑๘. ๓๒.โครงการจัดกิจกรรมค่ายพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพื่อเรียนรู้และเตรียมความพร้อมสอบ N-net ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๔

๑. เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมด้านวิชาการแก่นักศึกษา

๒. เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา ตามสาระการเรียนรู้

๓.เพื่อส่งเสริมพัฒนากระบวนการวัดผลและประเมินผลให้เป็นกลไกในการยกระดับผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน

๔.เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

นักศึกษาที่คาดว่าจะจบ

๑๕๐

กศน.ตำบลทั้ง ๖ แห่ง

๒๔ สิงหาคม ๖๔

ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน จำนวน ๔๒,๔๐๐ บาท

๑๙. ๓๓.โครงการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัล

เพื่อพัฒนาทักษะ ความรู้ให้แก่ผู้เข้าร่วมกิจกรรมด้านการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์โปรแกรม Microsaft office

ประชาชน กศน.ตำบล ๓ ตำบล

๗๕

กศน.ตำบลหนองกุงทับม้า กศน.ตำบลบะยาว กศน.ตำบลผาสุก

๒๖-๒๗ สิงหาคม ๖๔

รายจ่ายอื่น โครงการดิจิทัลชุมชน จำนวน ๑๙,๘๐๐ บาท

๒๐. ๓๔.โครงการค่ายกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อเรียนรู้สู้ภัยยาเสพติด

- เพื่อให้นักศึกษาได้เรียนรู้ถึงโทษและพิษภัยของยาเสพติด

- เพื่อให้นักศึกษานำความรู้และประสบการณ์ไปเผยแพร่ แก้ไขปัญหาและป้องกันยาเสพติด

นักศึกษา กศน.ทั้ง ๖ ตำบล

๒๔๐

กศน.ตำบลทั้ง ๖ แห่ง

๒๗ สิงหาคม ๖๔

ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ๒๙,๗๐๐ บาท

๒๑. ๓๕.โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน การเพาะพันธุ์ต้นกล้าฟ้าทะลายโจรต้านภัยโควิด-๑๙ ตามนโยบายเร่งด่วน “ล้านเมล็ดพันธุ์สู้ภัยโควิด”

๑ เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรฟ้าทะลายโจร และเพาะปลูกต้นฟ้าทะลายโจรได้

๒ เพื่อผลิตต้นกล้าฟ้าทะลายโจรแจกจ่ายประชาชนในพื้นที่

ประชาชน

๖๖

กศน.ตำบลทั้ง ๖ แห่ง

๑๓-๒๐ กันยายน ๖๔

รายจ่ายอื่น

จำนวน๓๖,๐๐๐ บาท

๒๒. ๓๖.โครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ

๑ เพื่อฝึกอบรมภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพให้กับประชาชนในอำเภอวังสามหมอ

๒ เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่ผ่านการอบรมตามโครงการภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ และดำเนินชีวิตประจำวันได้

ประชาชน

๒๔

ห้องประชุมบ้านวังไม้

๑๔-๑๗ กันยายน ๖๔

รายจ่ายอื่น

จำนวน ๑๔,๔๐๐ บาท

@รางวัล เกียรติบัตร การเชิดชูเกียรติที่สถานศึกษาได้รับ (ตั้งแต่ปีงบประมาณที่จัดทำรายงานการประเมินตนเอง ย้อนหลังไปไม่เกิน ๓ ปีงบประมาณ)

รางวัล เกียรติบัตร

การเชิดชูเกียรติที่สถานศึกษาได้รับ

ด้าน/เรื่อง

หน่วยงาน องค์กรที่มอบ

กศน.อำเภอวังสามหมอ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 ทักษะการอ่านบทร้อยกรองในการแข่งขันทักษะทางวิชาการ กศน.จังหวัดอุดรธานี วันที่ 28 มกราคม 2564

พัฒนาผู้เรียนทางด้านทักษะวิชาการ

สำนักงาน กศน.จังหวัด

กศน.อำเภอวังสามหมอ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 ทักษะ “ถ้าคุณแน่อย่าแพ้ กศน.”ในการแข่งขันทักษะทางวิชาการ กศน.จังหวัดอุดรธานี วันที่ 28 มกราคม 2564

พัฒนาผู้เรียนทางด้านทักษะวิชาการ

สำนักงาน กศน.จังหวัด

กศน.อำเภอวังสามหมอ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 ทักษะวิชาการทางด้าน ITC ในการแข่งขันทักษะทางวิชาการ กศน.จังหวัดอุดรธานี วันที่ 28 มกราคม 2564

พัฒนาผู้เรียนทางด้านทักษะวิชาการ

สำนักงาน กศน.จังหวัด

กศน.อำเภอวังสามหมอ ผ่านการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.2555 – 2558) ในวันที่21 - 23 กุมภาพันธ์ 2557 จากสำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน)

กศน.อำเภอวังสามหมอ ได้รับคัดเลือกเป็นสถานศึกษาแบบอย่างการจัดกระบวนการเรียนการสอนและการบริหารจัดการตามหลักปรัชญาขอเศรษฐกิจพอเพียงประจำปี 2552 “สถานศึกษาพอเพียง”

วันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2553 จากกระทรวงศึกษาธิการ

พัฒนาผู้เรียนทางด้านทักษะวิชาการ

สำนักงาน กศน.จังหวัด

กศน.อำเภอวังสามหมอ ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 2 ทักษะสุนทรียภาพด้านดนตรี ประเภททีม ดนตรีสากล ในการแข่งขันทักษะทางวิชาการ กศน.จังหวัดอุดรธานี วันที่ 28 มกราคม 2564

พัฒนาผู้เรียนทางด้านทักษะวิชาการ

สำนักงาน กศน.จังหวัด

กศน.อำเภอวังสามหมอ ได้รับรางวัลชนะเลิศอันดับที่ 1 ทักษะการโต้วาที ในการแข่งขันทักษะทางวิชาการ กศน.จังหวัดอุดรธานี วันที่ 28 มกราคม 2564

พัฒนาผู้เรียนทางด้านทักษะวิชาการ

สำนักงาน กศน.จังหวัด

นายณัฐพงศ์ โสภิณ

ได้รับคัดเลือกเป็น “ครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้มีผลงานดีเด่น” ในโอกาสวันครู ๑๖ มกราคม ๒๕๖๓

“ครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้มีผลงานดีเด่น”

ผู้ว่าราชการจังหวัดอุดรธานี

ได้รับคัดเลือก : กศน.ต้นแบบ ๕ ดี พรีเมี่ยม ลำดับที่ ๕ ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

กศน.ต้นแบบ ๕ ดี พรีเมี่ยม

สำนักงาน กศน.

ได้รับรางวัล สถานศึกษาที่มีผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน N-NET ประจำภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ๘๘๒.๗% ระดับ Silver เงิน

สถานศึกษาที่มีผู้เข้ารับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน N-NET ประจำภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ ๘๘๒.๗% ระดับ Silver เงิน

สำนักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี

ได้รับรางวัล รองชนะเลิศ การประกวดขบวนพาเหรด ๑๒๖ ปี เมืองอุดรออนซอนการอ่าน วันที่ ๒ เมษายน ๒๕๖๒ วันรักการอ่าน

ประกวดขบวนพาเหรด ๑๒๖ ปี เมืองอุดรออนซอนการอ่าน วันที่ ๒ เมษายน ๒๕๖๒ วันรักการอ่าน

สำนักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี

๑. ผลการประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด ครั้งล่าสุด

มาตรฐาน

รายละเอียดมาตรฐาน

ค่าน้ำหนัก

ผลการประเมินโดยต้นสังกัด





ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

1.

คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ

35

26.30

ดี

2.

คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ

25

22.54

ดี

3.

การบริหารจัดการ

10

9.29

ดีมาก

4.

การประกันคุณภาพการศึกษา

10

9.09

ดีมาก

5.

อัตลักษณ์ของสถานศึกษา

10

9.30

ดีมาก

6.

มาตรการส่งเสริม

10

9.10

ดีมาก

ภาพรวมของสถานศึกษา


100

85.62

ดี

ผลการประเมินคุณภาพภายในรายมาตรฐาน

มาตรฐานที่ 1 : คุณภาพผู้เรียน/ผู้รับบริการ

มาตรฐาน

รายละเอียดตัวบ่งชี้

ผลการประเมินโดยต้นสังกัด




คะแนนที่ได้

ระดับคุณภาพ

ต 1.1

ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี

2.98

ดีมาก

ต 1.2

ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์

2.97

ดีมาก

ต 1.3

ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

2.75

ดีมาก

ต 1.4

ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น

2.84

ดีมาก

ต 1.5

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

2.75

ต้องปรับปรุงเร่งด่วน

ต 1.6

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง

4.55

ดี

ต 1.7

ผู้เรียนมีงานทำหรือมีรายได้เสริม มีทักษะในการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต

4.52

ดี

ต 1.8

ความพึงพอใจต่อการให้บริการการศึกษาตามอัธยาศัย

2.95

ดีมาก

ภาพรวมมาตรฐานที่ 1


26.30

ดี

มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษา/การให้บริการ

มาตรฐาน

รายละเอียดตัวบ่งชี้

ผลการประเมินโดยต้นสังกัด




ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ต 2. 1

คุณภาพของหลักสูตร

3.51

ดี

ต 2.2

คุณภาพของครู/ผู้สอน

3.49

ดี

ต 2.3

คุณภาพการจัดการเรียน การสอนของครูและผู้สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

3.58

ดี

ต 2.4

คุณภาพผู้สอน/วิทยากร การศึกษาต่อเนื่อง

2.91

ดีมาก

ต 2.5

คุณภาพสื่อที่เอื้ออำนวยต่อการเรียนเรียนรู้ของผู้เรียนและผู้รับบริการ

2.60

ดี

ต 2.6

คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

3.80

ดีมาก

ต 2.7

การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

2.66

ดี

ภาพรวมมาตรฐานที่ 2


22.54

ดี

มาตรฐานที่ 3 การบริหารการศึกษา

มาตรฐาน

รายละเอียดตัวบ่งชี้

ผลการประเมินโดยต้นสังกัด




ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ต 3.1

คุณภาพของการบริหารสถานศึกษา

1.86

ดีมาก

ต 3.2

ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหาร

1.89

ดีมาก

ต 3.3

ผลการบริหารความเสี่ยง

1.75

ดี

ต 3.4

ผลการปฏิบัติหน้าที่ของผู้บริหารสถานศึกษา

1.97

ดีมาก

ต 3.5

ผลการปฏิบัติตามบทบาทของคณะกรรมการสถานศึกษา

1.82

ดีมาก

ภาพรวมมาตรฐานที่ 3


9.29

ดีมาก

มาตรฐานที่ 4 การประกันคุณภาพสถานศึกษา

มาตรฐาน

รายละเอียดตัวบ่งชี้

ผลการประเมินโดยต้นสังกัด




ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ต 4. 1

การประกันคุณภาพในสถานศึกษา

4.67

ดีมาก

ต 4.2

การประเมินคุณภาพสถานศึกษาโดยต้นสังกัด

4.42

ดีมาก

ภาพรวมมาตรฐานที่ 4


9.25

ดีมาก

มาตรฐานที่ 5 อัตลักษณ์ของสถานศึกษา

มาตรฐาน

รายละเอียดตัวบ่งชี้

ผลการประเมินโดยต้นสังกัด




ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ต 5. 1

ผู้บริหารมีสมรรถนะในการบริหารองค์กร

4.87

ดีมาก

ต 5.2

คุณภาพของการบริหารจัดการ

4.43

ดีมาก

ภาพรวมมาตรฐานที่ 5


9.30

ดีมาก

มาตรฐานที่ 6 มาตรการส่งเสริม

มาตรฐาน

รายละเอียดตัวบ่งชี้

ผลการประเมินโดยต้นสังกัด




ค่าเฉลี่ย

ระดับคุณภาพ

ต 6.1

ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐานศึกษามาตรฐานรักษาและพัฒนาสู่ความยั่งยืน เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

4.52

ดีมาก

ต 6.2

ผลที่เกิดจากการส่งเสริมการจัดการศึกษาระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในชุมชน

4.59

ดีมาก

ภาพรวมมาตรฐานที่ 6


9.10

ดีมาก

@ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาจากผลการประเมินสถานศึกษาโดยต้นสังกัด

1) สถานศึกษาควรกำหนด ปรัชญา วัตถุประสงค์ และกลยุทธ์ที่ครอบคลุมถึงแผนพัฒนาครูให้มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และระบุไว้ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปีอย่างต่อเนื่อง

2) พัฒนาครูให้มีความสามารถในการทำวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อและการเรียนรู้ของผู้เรียน และสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ และใช้เทคนิคการสอนแบบโครงงานมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนทุกศูนย์การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาให้มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ สรุปความคิดอย่างเป็นระบบ มีวิจารณญาณ คิดไตร่ตรอง คิดสร้างสรรค์และจิตนาการ

3) สถานศึกษาควรพัฒนาบุคลากรทุกฝ่ายให้มีความรู้ความเข้าใจในระบบการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประประเมินผลระบบการบริหารจัดการ ประเมินผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ประเมินผลโครงการ ประกันคุณภาพโครงการ ทั้งโครงการการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ และโครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต ตลอดจนสามารถนำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนางานทุกงานได้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การดำเนินงานของสถานศึกษาเป็นระบบครบวงจร PDCA และมีประสิทธิภาพสูงสุด

4) สถานศึกษาควรเปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษา องค์กร ชุมชน ท้องถิ่น และบุคลากรได้เข้ามามีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการดำเนินงานของสถานศึกษา เพื่อให้การจัดการศึกษามีประสิทธิภาพมากขึ้น

ผลการประเมินคุณภาพภายนอก (ครั้งล่าสุด)

ตัวบ่งชี้

น้ำหนัก

(คะแนน)

คะแนน

ที่ได้

ระดับ

คุณภาพ

กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน

ตัวบ่งชี้ที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี

10.00

9.52

ดีมาก

ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์

10.00

9.28

ดีมาก

ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนมีความใฝ่รู้ และเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง

10.00

9.01

ดีมาก

ตัวบ่งชี้ที่ 4 ผู้เรียนคิดเป็น ทำเป็น

10.00

8.91

ดี

ตัวบ่งชี้ที่ 5 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน

10.00

14.73

ดี

ตัวบ่งชี้ที่ 6 ประสิทธิผลของการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

10.00

9.67

ดีมาก

ตัวบ่งชี้ที่ 7 ประสิทธิภาพของการบริหารจัดการและการพัฒนาสถานศึกษา

5.00

5.00

ดีมาก

ตัวบ่งชี้ที่ 8 พัฒนาการของการประกันคุณภาพภายในโดยสถานศึกษาและต้นสังกัด

5.00

4.64

ดีมาก

กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์




ตัวบ่งชี้ที่ 9 ผลการพัฒนาให้บรรลุตามปรัชญา ปณิธาน/วิสัยทัศน์ พันธกิจ และวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งสถานศึกษา

5.00

5.00

ดีมาก

ตัวบ่งชี้ที่ 10 ผลการพัฒนาตามจุดเน้นและจุดเด่นที่ส่งผลสะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา

5.00

4.67

ดีมาก

กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม




ตัวบ่งชี้ที่ 11 ผลการดำเนินงานโครงการพิเศษเพื่อส่งเสริมบทบาทของสถานศึกษา

5.00

5.00

ดีมาก

ตัวบ่งชี้ที่ 12 ผลการส่งเสริมพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับมาตรฐาน

รักษามาตรฐาน และพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ ที่สอดคล้องกับ แนวทางการปฏิรูปการศึกษา

5.00

5.00

ดีมาก

คะแนนรวม

100.00

90.42

ดีมาก

@ ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาจากผลการประเมินคุณภาพภายนอก

1) สถานศึกษาควรกำหนด ปรัชญา วัตถุประสงค์ และกลยุทธ์ที่ครอบคลุมถึงแผนพัฒนาครูให้มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และระบุไว้ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏิบัติการประจำปีอย่างต่อเนื่อง

2) พัฒนาครูให้มีความสามารถในการทำวิจัยเพื่อพัฒนาสื่อและการเรียนรู้ของผู้เรียน และสามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ และใช้เทคนิคการสอนแบบโครงงานมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนทุกศูนย์การเรียนรู้ เพื่อพัฒนาให้มีทักษะในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ สรุปความคิดอย่างเป็นระบบ มีวิจารณญาณ คิดไตร่ตรอง คิดสร้างสรรค์และจิตนาการ

3) สถานศึกษาควรพัฒนาบุคลากรทุกฝ่ายให้มีความรู้ความเข้าใจในระบบการนิเทศ กำกับ ติดตาม ประประเมินผลระบบการบริหารจัดการ ประเมินผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม ประเมินผลโครงการ ประกันคุณภาพโครงการ ทั้งโครงการการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานนอกระบบ และโครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพและทักษะชีวิต ตลอดจนสามารถนำผลการประเมินไปปรับปรุงพัฒนางานทุกงานได้อย่างต่อเนื่อง เพื่อให้การดำเนินงานของสถานศึกษาเป็นระบบครบวงจร PDCA และมีประสิทธิภาพสูงสุด

4) สถานศึกษาควรเปิดโอกาสให้คณะกรรมการสถานศึกษา องค์กร ชุมชน ท้องถิ่น และบุคลากรได้เข้ามามีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการดำเนินงานของสถานศึกษา เพื่อให้การจัดการศึกษามีประสิทธิภาพมากขึ้น


บทที่ ๒

ผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ สังกัด สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดอุดรธานี สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ มีการจัดการศึกษา ....๓....... ประเภท ประกอบด้วย

R การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

R การศึกษาต่อเนื่อง

R การศึกษาตามอัธยาศัย

ซึ่งได้มีการกำหนด และประกาศมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาไว้แล้ว เมื่อวันที่ ๓ เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๓ จึงได้ดำเนินการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องเป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประกาศ ณ วันที่ ๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ซึ่งมีผลการประเมินคุณภาพการศึกษา ดังนี้


ผลการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน (เฉพาะมาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา

ขั้นพื้นฐาน และมาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ)

มาตรฐานการศึกษา/

ประเด็นการพิจารณา

ค่าน้ำหนัก

(คะแนน)

กระบวนการ/วิธีการดำเนินงาน

ของสถานศึกษา

ผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้น

และร่องรอย หลักฐานที่เกิดขึ้น

จากการดำเนินงานตามสภาพจริง

ผลการประเมินคุณภาพ






คะแนนที่ได้

ระดับคุณภาพ

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบ

ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

๕๐

๑.๑ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา

๑๐

สถานศึกษามีการกำหนดค่าเป้าหมายคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากรายงานผลคะแนนเฉลี่ยการสอบปลายภาคเรียนในระดับประถมศึกษา จำนวน ๑๔ วิชา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน ๑๔ วิชา และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน ๑๔ วิชา และเมื่อสถานศึกษานำคะแนนเฉลี่ยผลการสอบปลายภาคเรียนที่ ๒/๒๕๖๓ และภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๔ มาเปรียบเทียบกับคะแนนค่าเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดไว้ พบว่ามีรายวิชาที่มีผลคะแนนเฉลี่ยที่เท่ากับหรือสูงกว่าค่าคะแนนเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนด ดังนี้

ระดับประถมศึกษาภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ มีวิชาที่มีผลคะแนนเฉลี่ยที่เท่ากับหรือสูงกว่าค่าคะแนนเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดจำนวน ๘ รายวิชา

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ มีวิชาที่มีผลคะแนนเฉลี่ยที่เท่ากับหรือสูงกว่าค่าคะแนนเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดจำนวน ๗ รายวิชา

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ มีวิชาที่มีผลคะแนนเฉลี่ยที่เท่ากับหรือสูงกว่าค่าคะแนนเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดจำนวน ๖ รายวิชา รวมทั้ง ๓ ระดับ ในภาคเรียน ๒/๒๕๖๓ จำนวน ๒๑ รายวิชา

ระดับประถมศึกษาภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ มีวิชาที่มีผลคะแนนเฉลี่ยที่เท่ากับหรือสูงกว่าค่าคะแนนเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดจำนวน ๙ รายวิชา

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ มีวิชาที่มีผลคะแนนเฉลี่ยที่เท่ากับหรือสูงกว่าค่าคะแนนเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดจำนวน ๑๔รายวิชา

ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๔ มีวิชาที่มีผลคะแนนเฉลี่ยที่เท่ากับหรือสูงกว่าค่าคะแนนเป้าหมายที่สถานศึกษากำหนดจำนวน ๑๔ รายวิชา รวมทั้ง ๓ ระดับ ในภาคเรียน ๑/๒๕๖๔ จำนวน ๓๗ วิชา

เมื่อคำนวณร้อยละของจำนวนรายวิชาที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบ ที่เท่ากับหรือสูงกว่าคะแนนผลสัมฤทธิ์ที่สถานศึกษาตั้งค่าเป้าหมายไว้ ได้ร้อยละเฉลี่ยในภาพรวมทั้งปีงบประมาณ ๒๕๖๔ เท่ากับ ๗๑.๒๕ พิจารณาตามเกณฑ์การให้คะแนนในประเด็นการพิจารณาที่ ๑.๑ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีสอดคล้องกับหลักสูตร จะได้คะแนน ๕ คะแนน และเมื่อนำมาคำนวณคะแนนที่ได้เปรียบเทียบกับค่าน้ำหนักคะแนนและการเทียบกับเกณฑ์ระดับคุณภาพ สถานศึกษาได้ ๑๐ คะแนน อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม

๑. รายงานผลคะแนนเฉลี่ยผลการสอบปลายภาคเรียนทุกระดับการศึกษาในรายวิชาบังคับของสถานศึกษา

๒. ข้อมูล หรือตารางสรุปข้อมูลคะแนนเฉลี่ยผลการสอบวิชาบังคับของสถานศึกษาเปรียบเทียบกับค่าคะแนนเป้าหมาย ที่กำหนด

๑๐

ยอดเยี่ยม

๑.๒ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด

๑๐

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ มีการจัดกิจกรรมโครงการที่มุ่งเน้นการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะที่ดีที่สถานศึกษากำหนดผ่านกิจกรรมโครงการ ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ โดยมีการดำเนินการประชุมวางแผน กำหนดโครงการจัดกิจกรรม ดังต่อไปนี้

๑. โครงการแข่งขันกีฬาชาวไร่อ้อยเกมส์ จำนวน ๙๒ คน

๒. โครงการแข่งขันกีฬาคณะครูและนักศึกษา กศน.อุดรธานี เกมส์ ครั้งที่ ๖ จำนวน ๗๒ คน

๓. โครงการมหกรรมการแข่งขันทักษะทางวิชาการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ จำนวน ๖๐. คน

๔. โครงการยุวกาชาด จำนวน ๑๐๐ คน

๕. โครงการค่ายส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต จำนวน ๓๐๐ คน

๖. โครงการค่ายพัฒนาผู้เรียนเพื่อเพิ่มศักยภาพ การเรียนรู้ด้านเทคโนโลยี (ICT) จำนวน ๑๐๐ คน

๗. โครงการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรคโควิด-๑๙จำนวน ๑๒๐ คน

๘. โครงการค่ายกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพื่อเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมไทย จำนวน ๑๘๐ คน

๙. โครงการค่ายกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เพื่อเรียนรู้สู้ภัยยาเสพติด จำนวน ๒๔๐ คน

ดำเนินการประเมินผล สรุปผล และรายงานผลการดำเนินงานต้นสังกัด

โดยสถานศึกษาตั้งค่าเป้าหมายให้ผู้เรียนได้รับการยกย่อง เชิดชูเกียรติ เป็นแบบอย่างที่ดีไว้ จำนวน ๒๙ คน

ยกตัวอย่าง นักศึกษาที่มีคุณธรรม จริยธรรม

๑. นายฤทธิพงษ์ วรมากุล จิตอาสา ช่วยเหลือสังคมโดยเป็นสมาชิกชมรมอาสาวีอาร์กู้ภัยอำเภอวังสามหมอ

๒. นางสาวกัลยา พิณมณี มีความกตัญญูดูแลคุณย่าที่ป่วยด้วยโรคอัลไซเมอร์ เป็นผู้ที่มีความประพฤติเรียบร้อย ขยันมั่นเพียร

๓. นางสาวศิรประภา แผนบุตร เป็นผู้ที่มีความขยันขันแข็งในการศึกษาเล่าเรียน เข้าเรียนเป็นประจำ เป็นผู้ที่มีระเบียบวินัย ขยันมั่นเพียร

๔. นางสุไพร แท่นศิลา เข้าร่วมกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาเข้าวัด ฟังธรรม และร่วมบริจาคโลหิต เป็นผู้ที่มีจิตใจโอบอ้อมอารี มีจิตสาธารณะ

๕. นายบุญประคอง พรมกุล ร่วมทำบุญสร้างวัดและเป็นผู้นำชุมชน เป็นผู้รักษาระเบียบวินัย มีจิตอาสาพัฒนาชุมชน

๖. นางชุติกาญจน์ พันธ์ศิริ เข้าร่วมกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาเข้าวัด ฟังธรรม

๗. นางพัสรา ศรีหงส์ทอง เป็นผู้มีความอุตสาหะในการปฏิบัติงาน อสม. เพื่อช่วยเหลือประชาชนในการดูแลสุขภาพพื้นฐานในการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙

๘. นางสาวสมจิตร พิบูลย์สังข์ อุทิศตนให้กับสังคม โดยการเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีความเสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม หน้าที่หลักคือการเข้าถึงสุขอนามัยของคนในชุมชน

๙. นางบุญสาน ภูยาดาว อุทิศตนให้กับสังคม โดยการเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) มีความเสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม หน้าที่หลักคือการเข้าถึงสุขอนามัยของคนในชุมชน

๑๐. นางสาวนุชบา ผลานิสงฆ์ เป็นตัวอย่างที่ดีสังคม โดย มีจิตสาธารณะในการเสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม

๑๑. นางหนูจันทร์ ชมภูนาตย์ อุทิศตนให้กับสังคม โดยการเป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) มีความเสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม หน้าที่หลักคือการเข้าถึงสุขอนามัยของคนในชุมชน

๑๒. นายจักรพงษ์ หลักคำ เป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม ประพฤติชอบ ชอบทำบุญบริจาคทานตามโอกาส

๑๓. นายกิตตินันท์ วรรณพราหมณ์ ช่วยเหลือพ่อ-แม่ ประกอบธุรกิจค้าขาย

๑๔. นายจิรภัทร ศรีแก้วน้ำใส ช่วยเหลือพ่อ-แม่ ประกอบธุรกิจค้าขายเลี้ยง

๑๕. นายชัยยันต์ สืบสุวรรณ ช่วยเหลือดูแลพ่อแม่

๑๖. น.ส.อุบลวรรณ วันตะคุ เป็นคนที่มีขยัน อดทน มีสัมมาอาชีพชอบ สร้างรายได้โดยการขายของออนไลน์

๑๗. นางอรสา ศรีลากัน เป็นตัวอย่างที่ดีสังคม โดย มีจิตสาธารณะในการเสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม

๑๘. นางสุภาพร ภูผายาง เป็นตัวอย่างที่ดีสังคม โดย มีจิตสาธารณะในการเสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม

๑๙. นายสมพร วงษาแก้ว เป็นตัวอย่างที่ดีสังคม โดย มีจิตสาธารณะในการเสียสละเพื่อประโยชน์ส่วนรวม

๒๐. นางบัวพันธ์ พรหมจักร เป็นผู้ที่มีความรู้ วิริยะในการทำหน้าที่ในการถ่ายทอดความรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม

๒๑. นางสาวอัมรา เนตรโสภา เป็นผู้ที่มีความประพฤติดี ประพฤติชอบ ดำเนินชีวิตตามหลักของธรรมะ เข้าร่วมกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาเข้าวัด ฟังธรรมเป็นประจำ

๒๒. นายลอนสรรค์ ไกรนามน เป็นผู้ที่มีความประพฤติดี ประพฤติชอบ ดำเนินชีวิตตามหลักของธรรมะ เข้าร่วมกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาเข้าวัด ฟังธรรมเป็นประจำ

๒๓. นายสมชาย รุ่งเรืองกาสี เป็นบุคคลที่มีความขยัน มีจิตอาสาพัฒนาชุมชน สังคม

๒๔. นางปราณี ชาดา เป็นผู้ที่มีจิตใจโอบอ้อมอารี ขยัน ซื่อสัตย์ และชอบร่วมทำบุญสร้างวัด

๒๕. นายสุบรรณ์ แก้วปราณี ปฏิบัติตัวให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชนจิตอาสาพัฒนาชุมชน

๒๖. นางทองม้วน โตนา เข้าร่วมกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาเข้าวัด ฟังธรรม

๒๗. นางประมวล ทองคำ เข้าร่วมกิจกรรมทางพระพุทธศาสนาเข้าวัด ฟังธรรม

๒๘. นายอนุชา พลภักดี มีความกตัญญูช่วยเหลือพ่อแม่ค้าขาย มีความซื่อสัตย์ สุจริต ขยัน อดทน

๒๙. นางอุไร ลาสองชั้น เป็นผู้ที่มีความขยัน อดทน ซื่อสัตย์ สุจริต มั่นค้นคว้าหาความรู้เป็นประจำ น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวติ

๑. โครงการกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง

๒. สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ

๓. แบบประเมินคุณธรรม

๔. ภาพถ่ายการจัดโครงการ

๖. ข้อมูลจากโปรแกรม ITW

๑๐

ยอดเยี่ยม

๑.๓ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่น

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ไตร่ตรองอย่างรอบคอบ โดยใช้ข้อมูลและเหตุผลประกอบการตัดสินใจ แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง สมเหตุสมผล และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่น โดยจัดกิจกรรมโครงการ ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ดังต่อไปนี้

๑. โครงการยุวกาชาด จำนวน ๑๐๐. คน

๒. โครงการจัดกิจกรรมค่ายพัฒนาคุณภาพผู้เรียน เพื่อเรียนรู้และเตรียมความพร้อมสอบ N-net ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๔ จำนวน ๑๕๐ คน

๓. โครงการกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ด้านจิตสาธารณะ จำนวน ๑๒๐ คน

๔. โครงการ ค่ายกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพื่อเรียนรู้สู้ภัยไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ ๒๐๑๙

๖.โครงการค่ายวิชาการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ประจำภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ จำนวน ๓๐๐ คน

๗.โครงการค่ายพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์การสอบวัดความรู้ระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ จำนวน ๑๐๐ คน

๘.โครงการมหกรรมการแข่งขันทักษะทางวิชาการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๔ จำนวน ๖๐ คน

๙.โครงการแข่งขันกีฬาชาวไร่อ้อยเกมส์ จำนวน ๙๒ คน

๑๐.โครงการแข่งขันกีฬาคณะครูและนักศึกษา กศน.อุดรธานี เกมส์ ครั้งที่ ๖ จำนวน ๗๒ คน

โดยสถานศึกษามีการประเมินผล สรุปผล และรายงานผลการดำเนินงานกับต้นสังกัด และสถานศึกษาตั้งค่าเป้าหมายให้ผู้เรียนได้รับการยกย่อง เชิดชูเกียรติ เป็นแบบอย่างที่ดีไว้ จำนวน ๒๙ คน

ยกตัวอย่าง

๑. นางสาวตุ๊กตา บุญชอบ นำความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ในวิชา เศรษฐกิจพอเพียง ไปปรับใช้ในการเลี้ยงปลาในกระชังซึ่งสามารถแก้ไขปัญหาน้ำเสียที่เกิดจากเศษอาหารตกค้างได้

๒. นางสาวลำปราง ผลทวิล นำความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ในวิชา เศรษฐกิจพอเพียง ไปปรับใช้ในการเลี้ยงหมูหลุม

๓. นางสาวเฉลิมจันทร์ ตรีมงคล นำความรู้ที่ได้จากการเรียนรู้ในวิชา เศรษฐกิจพอเพียง ไปปรับใช้ในการปลูกพืชผักสวนครัว

๔. นายกิตติคุณ ถิตย์จิตต์ นำความรู้ที่ได้รับจากการเข้าการเรียนรู้ในวิชา เศรษฐกิจพอเพียง ไปปรับใช้ในสวนยางพาราและสวนลิ้นจี่

๕. นางสะอาด นิกรกุล สามารถนำวิชาความรู้จากรายวิชา สุขศึกษา พลศึกษา นำมาแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติหน้าที่ อสม. ได้

๖. นางสาวบุญสอน พรมโคตร นำความรู้ไปใช้ในการประกอบอาชีพ ทำสวนเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อแก้ไขปัญหาค่าใช้จ่ายในครัวเรือน

๗. นายโปรเชส์ ศรีเชียงสา ครอบครัวยากจน เลยคิดค้นอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ให้กับครอบครัวเลี้ยงปลาหมอเทศ ซึ่งได้น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการประกอบอาชีพ

๘. นายสรรพสิทธิ์ พรมแสงใส นำความรู้จากหลักการเรียนวิชาเศรษฐกิจพอเพียง มาปรับใช้ในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้อย่างดี

๙. นายสาคร แสงลี สามารถเข้าใจเรื่องราวง่าย แก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า และนำความรู้ที่ได้เรียนมาประยุกต์ให้เข้ากับอาชีพและชีวิตประจำวันได้

๑๐. น.ส.อุบลวรรณ วันตะคุ ใช้หลักการ คิดเป็น ในการแก้ไขปัญหา สร้างทางเลือกใหม่ในการส่งเสริมอาชีพ เพิ่มช่องทางในการหารายได้ให้กับตนเอง โดยการขายของออนไลน์

๑๑. น.ส.ณัฐทราพร วงค์จันทร์ ใช้หลักการ คิดเป็น ในการแก้ไขปัญหา สร้างทางเลือกใหม่ในการส่งเสริมอาชีพ เพิ่มช่องทางในการหารายได้ให้กับตนเอง โดยการขายของออนไลน์

๑๒. น.ส.วนิดา ไชยราช เป็นพนักงานบัญชีลานมันบ้านโคกเล้า ใช้หลักการ คิดเป็น ในการทำงาน เมื่อประสบปัญหาในการทำงาน จะใช้กระบวนการตรวจสอบข้อมูล เช็คกระบวนการในการทำงาน มองหาปัญหา เพื่อแก้ไขให้ตรงจุด

๑๓. นายปณชัย เกษโสภา พนักงานโลตัส สาขาวังสามหมอ ใช้หลักการ คิดเป็น ในการทำงาน เมื่อประสบปัญหาในการทำงาน จะใช้กระบวนการตรวจสอบข้อมูล เช็คกระบวนการในการทำงาน มองหาปัญหา เพื่อแก้ไขให้ตรงจุด

๑๔. นายธินกร เกษโสภา พนักงานบัญชีปั้มแก๊ส LPG วังสามหมอ ใช้หลักการ คิดเป็น ในการทำงาน เมื่อประสบปัญหาในการทำงาน จะใช้กระบวนการตรวจสอบข้อมูล เช็คกระบวนการในการทำงาน มองหาปัญหา เพื่อแก้ไขให้ตรงจุด

๑๕. น.ส.ฟ้าใส แก้วแสนสิทธิ์ ประกอบอาชีพขายประกันภัย ใช้หลักการ คิดเป็น ในการทำงาน เมื่อประสบปัญหาในการทำงาน จะใช้กระบวนการตรวจสอบข้อมูล เช็คกระบวนการในการทำงาน มองหาปัญหา เพื่อแก้ไขให้ตรงจุด

๑๖. น.ส.นิภาพร พุ่มพวง ช่วยพ่อ-แม่ ประกอบธุรกิจค้าขายที่ร้านลองมาแวร์ใช้หลักการ คิดเป็น ในการแก้ไขปัญหา สร้างทางเลือกใหม่ในการส่งเสริมอาชีพ เพิ่มช่องทางในการหารายได้ให้กับตนเอง โดยการขายของออนไลน์

๑๗. นายเมธี คำเพ็ง ใช้หลักการ คิดเป็น ในการแก้ไขปัญหา สร้างทางเลือกใหม่ในการส่งเสริมอาชีพ เพิ่มช่องทางในการหารายได้ให้กับตนเอง โดยการขายของออนไลน์ประกอบอาชีพเพาะพันธุ์ต้นไม้ขาย

๑๘. นางสาวนิพาดา ทศพร ประกอบอาชีพขายพวงมาลัย โดยการคิดค้นลวดลายการร้อยพวงมาลัยเองเพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้า

๑๙. นายคำปุน โสภาอุทก นายคำปุน นำความรู้จากการเรียนรายวิชาสุขศึกษา พลศึกษาจาก กศน.อำเภอวังสามหมอ นำไปปรับใช้ในชีวิตประจำโดยการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนร่วมงานด้านการดูแลสุขภาพร่างกาย และมีการรับประทานสมุนไพรเพื่อเสริมสร้างภูมิต้านทานโรคโควิด-19

๒๐. นางสวงค์ สุปัญญาบุตร ครอบครัวยากจน เลยคิดค้นอาชีพที่สามารถสร้างรายได้ให้กับครอบครัวเลี้ยงปลาหมอเทศ

๒๑. นางสาววาสนา ศรีไชย ใช้ความรู้จากรายวิชาทักษะการเรียนรู้มาเป็นแนวปฏิบัติในการทำงาน อสม. โดยใช้กระบวนการ การวางแผน การดำเนินการตามแผน การตรวจวิเคราะห์และตรวจเช็คข้อมูลความถูกต้อง

๒๒. นางอุไร ลาสองชั้น นำความรู้จากรายวิชา เศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการประกอบอาชีพโดยน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการประกอบอาชีพ โดยได้จัดตั้งกลุ่มเศรษฐกิจพอเพียง

๒๓. นางราตรี คะชาแก้ว นำความรู้ที่ได้จากการเรียรู้ขั้นพื้นฐานนำไปใช้ในการสมัครงาน รพ.สต.

๒๔. นางสุภาพ ผ่านชมพู นำความรู้จากการเรียนวิชาสุขศึกษา พลศึกษา และวิชาทักษะการเรียนรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน อสม.

๒๕. นางอรสา ศรีลากัน ร่วมออกความคิดเห็นในการประชุม หารือ ภายในหมู่บ้าน

๒๖. นางสุภาพร ภูผายาง สามารถนำความรู้ที่ได้จากการเข้าร่วมโครงการเศรษฐกิจพอเพียงไปปรับใช้ในแปลงผักตัวเองที่ปลูกกินเอง ปลอดจากสารเคมี และแบ่งปันผักที่ปลูกเองให้เพื่อนบ้าน

๒๗. นายสมพร วงษาแก้ว มีจิตอาสา เสียสละเวลาของตน เพื่อประโยชน์ส่วนรวม ร่วมออกความคิดเห็นในการประชุม หารือ ภายในหมู่บ้าน

๒๘. นางหนูจันทร์ อรรคะ ใช้หลักการคิดเป็นและน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาปรับใช้ในการประกอบอาชีพ

๒๙. นางอุไร ลาสองชั้น เป็นผู้ที่มีความขยัน อดทน ซื่อสัตย์ สุจริต มั่นค้นคว้าหาความรู้เป็นประจำ น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดำเนินชีวติ

๑. แผนการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียน

๒. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

๓. รายงานผลการดำเนินงานโครงการ

๔. ภาพถ่ายการจัดโครงการ

๕. เกียรติบัตร

ดีเลิศ

๑.๔ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการสร้างสรรค์งาน ชิ้นงาน หรือนวัตกรรม

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การสร้างสรรค์ผลงาน มีการเรียนรู้ผ่านการทำโครงงาน มีขั้นตอนดังต่อไปนี้

๑. วิเคราะห์ผู้เรียน วางแผนการจัดกิจกรรม

๒. จัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยให้นักศึกษานำเสนอหัวเรื่องที่ตนเองต้องการที่จะทำโครงงาน

๓. ปรึกษาอาจารย์ประจำกลุ่ม

๔. ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง

๕. ลงมือจัดทำโครงงานร่วมกัน

๖. จัดทำการเขียนรายงาน

๗. แสดงผลงานกับเพื่อน ๆ และอาจารย์ประจำกลุ่ม

โดยสถานศึกษาตั้งค่าเป้าหมายให้ผู้เรียนมีความสามารถในการสร้างสรรค์งาน ชิ้นงาน นวัตกรรม จำนวน ๑๘ คน

ยกตัวอย่าง

๑. โครงงานเครื่องตัดก้นหอย

นางสาววรฤทัย เมฆจรูญ

นายอนุชา พลภักดี

นายไพรัช ศรีสวัสดิ์

นายธวัฒน์ ศรีสวัสดิ์

นางสาวอุดมรัตน์ ชาวกัณหา

๒. โครงงานเก้าอี้ล้อรถยนต์

นายวัชรพล ศรีหริ่ง

นายณัฐวุฒิ ศิริภักดี

นายวัฒนา แสงเพชร

๓. โครงงานโคมไฟจากเครื่องจักสาน

นายจักรพงษ์ หลักคำ

นายกิตตินันท์ วรรณพราหมณ์

นายจิรภัทร ศรีแก้วน้ำใส

นายชัยยันต์ สืบสุวรรณ

๔. โครงการกระดาษจากใบอ้อย

นายบรรจง ภูยาดาว

นางโสภา ไสยวรรณ

นางสาวหนูนาต วงษ์ชาลี

๕. โครงงานการทำธุง

นางสาวกนกวรรณ พรมกุล

นางญาณิน ปาระพิมพ์

นางสาวสาริกา โถคำนาม

- โครงงานชิ้นงานแต่ละตำบล จำนวน ๑ ชิ้นงาน/ตำบลละ ๓ คน

- ภาพถ่าย

- รายชื่อนักเรียน

ดีเลิศ

๑.๕ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ มีการจัดอบรมให้ผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่มีความหลากหลาย และสามารถเข้าถึงแหล่งความรู้ เพื่อพัฒนาตนเองด้านการประกอบอาชีพ การพัฒนาชุมชนสังคม และเพื่อให้ก้าวทันต่อยุคที่เทคโนโลยีได้ก้าวเข้ามามีความสำคัญในการดำเนินชีวิต ซึ่งสถานศึกษาได้ดำเนินการจัดกิจกรรม กระบวนการเรียนรู้ด้านใช้เทคโนโลยีดิจิทัลให้กับผู้เรียนดังนี้

๑. กศน.อำเภอวังสามหมอ ดำเนินการประชุมชี้แจงให้บุคลากรได้จัดทำนวัตกรรมด้านการเรียนการสอนตามนโยบายของ สำนักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี เพื่อให้เหมาะสมในการจัดการเรียนการสอนในช่วงสถานการณ์โควิด-19 (COVID-19) โดยบุคลากรมีการจัดทำการเรียนการสอน ผ่านโปรแกรม Google Class Room มีการสอบเก็บคะแนนระหว่างภาคโดยใช้โปรแกรม Google From

๒. ส่งเสริมให้นักศึกษารู้จักการสืบค้นข้อมูลโดยผ่านทางระบบอินเตอร์เน็ต เช่น Google.com, YouTube หรือช่องทางอื่นๆ

๓. ส่งเสริมการสื่อสารโดยใช้ช่องทาง Line, Face book เพื่อใช้ในการสื่อสารเป็นกลุ่มในการส่งงานหรือประสานงานของครูกับผู้เรียน

๑. ห้องเรียนออนไลน์ Google Class Room

๒. การสอบเก็บคะแนนระหว่างภาคผ่านระบบออนไลน์ด้วยโปรแกรม Google From

๓. กลุ่มไลน์ กศน.ตำบลของนักศึกษา

๔. ภาพถ่าย

๕. ผลงาน หรือชิ้นงานของผู้เรียน

๓.๖

ยอดเยี่ยม

๑.๖ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีสุขภาวะทางกาย และสุนทรียภาพ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้ส่งเสริมกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ขั้นพื้นฐานมีสุขภาวะทางกาย และสุนทรียภาพโดยมีการจัดกิจกรรมโครงการที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนที่มีภาวะทางร่างกายที่เหมาะสมในแต่ละช่วงวัย และมีสุขภาพจิต อารมณ์ และสังคมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนดผ่านกิจกรรม ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ ดังต่อไปนี้

๑.โครงการแข่งขันกีฬาชาวไร่อ้อยเกมส์

๒ โครงการแข่งขันกีฬาคณะครูและนักศึกษา กศน.อุดรธานี เกมส์ ครั้งที่ ๖

๓. โครงการยุวกาชาด

๔. โครงการแข่งขันกีฬา “กศน. อุดรธานี เกมส์ Udonthani ONIE Games”

๕. โครงการจัดและส่งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต เพื่อคงพัฒนาการทางกายจิตและสมองของผู้สูงอายุ ประจำมีงบประมาณ ๒๕๖๔

๖. โครงการเฝ้าระวังและควบคุมป้องกันโรคโควิด-๑๙

๗. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน การเพาะพันธุ์ต้นกล้าฟ้าทะลายโจรต้านภัยโควิด-๑๙ ตามนโยบายเร่งด่วน “ล้านเมล็ดพันธุ์สู้ภัยโควิด”

๑. หลักฐานการตรวจสุขภาพของผู้เรียน

๒. รายงานผลการดำเนินโครงการ กิจกรรมที่เกี่ยวข้อง

๓. ภาพถ่ายการเข้าร่วมโครงการ

๓.๖๐

ยอดเยี่ยม

๑.๗ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการอ่าน การเขียน

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ มีการประเมินผู้เรียนที่ลงทะเบียนใหม่ในทุกภาคเรียนโดยใช้เอกสารการประเมินการรู้หนังสือที่สำนักงาน กศน.ได้กำหนดไว้เป็นแนวทางการประเมิน ดังนี้

๑. ระดับประถมศึกษา มีนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนใหม่ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ เข้ารับการประเมินการรู้หนังสือ จำนวน ๓๙ คน มีความสามารถในการอ่านออก เขียนได้

๒. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนใหม่ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ เข้ารับการประเมินการรู้หนังสือ จำนวน ๙๓ คน มีความสามารถอ่าน และเขียนได้คล่อง

๓. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย มีนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนใหม่ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๔ เข้ารับการประเมินการรู้หนังสือ จำนวน ๑๕๓ คน มีความสามารถในการอ่านจับใจความ และเขียนเชิงสร้างสรรค์

โดยนักศึกษา กศน.อำเภอวังสามหมอมีระดับการประเมินการรู้หนังสือของนักศึกษา กศน.ทั้ง ๓ ระดับ ผ่านเกณฑ์การประเมินทั้ง ๒ ข้อ คือ การอ่านภาษาไทย คะแนนรวมได้ร้อยละ ๗๗.๔๖ และการเขียนภาษาไทยคะแนนรวมได้ร้อยละ ๗๕.๒๐ อยู่ในเกณฑ์ อ่านได้ดี เขียนได้ดี

๑. แผนการจัดการเรียนรู้

๒. แบบประเมินการรู้หนังสือ

๓. รายชื่อนักศึกษาที่เข้ารับการประเมินการรู้หนังสือ

๔.สมุดบันทึกการเรียนรู้ ใบงาน ชิ้นงาน และแฟ้มสะสมงานของผู้เรียน

๖.ผลการวัดระดับการรู้หนังสือของผู้เรียน

๗.บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

๓.๖๐

ยอดเยี่ยม

๑.๘ ผู้จบการศึกษาขั้นพื้นฐานนำความรู้ ทักษะพื้นฐานที่ได้รับไปใช้ หรือประยุกต์ใช้

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ มีการติดตามนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษาในแต่ละระดับ โดยใช้แบบติดตามผู้เรียนที่สถานศึกษาได้จัดทำขึ้น เพื่อทำการสรุปผลและรายงานให้ผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ และอีกช่องทางหนึ่งจะเป็นการเก็บข้อมูลจากการขอตรวจสอบคุณวุฒิของสถานศึกษาที่นักศึกษาไปศึกษาต่อ ในระดับที่สูงขึ้นและสถานที่นักศึกษาไปปฏิบัติงานส่งตรวจสอบคุณวุฒิกับสถานศึกษา โดยในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ มีดังต่อไปนี้

โดยสถานศึกษาตั้งค่าเป้าหมายให้ผู้เรียนมีนำความรู้ ทักษะขั้นพื้นฐานที่ได้รับไปใช้หรือประยุกต์ใช้ จำนวน ๒๔ คน

ยกตัวอย่าง

๑. นายอำพล ตะไก่แก้ว ประกอบอาชีพธุระกิจส่วนตัว

๒. นายบุญมา เวียงชัย ประกอบอาชีพลูกจ้างการยางแห่งประเทศไทย

๓. นางสาวสุดารัตน์ ตรีศาสตร์ ศึกษาต่อในวิทยาลัยเทคโนโลยีรังสิโยภาส

๔. นายโอภาส เสริฐฉาย ประกอบอาชีพธุรกิจส่วนตัว

๕. นางสาวทับทิม ฤทธิธรรม ประกอบอาชีพเข้าร่วมโครงการ U2T 1 ตำบล 1 มหาวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยขอนแก่น

๖. นางสาวปวีณา วรรณจันทร์ นำวุฒิการศึกษาที่ได้ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ที่มหาวิทยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ

๗. นางสาวพิกุล กงซุย ประกอบอาชีพพนังงานแคชเชียร์ที่เทสโก้โลตัส สาขาวังสามหมอ

๘. นายชัยศักดิ์ ภูยาธิ เป็นผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 ต.คำโคกสูง อ.วังสาหมอ จ.อุดรธานี

๙. นายจีระศักดิ์ แสนสัมฤทธิ์ นำความรู้ที่ได้รับจากการเข้าร่วมโครงการเศรษฐกิจพอเพียงไปต่อยอดพืชผลทางการเกษตร เช่น ปลูกมันสันปะหลัง อ้อย พืชผักสวนครัว

๑๐. นายจักกฤษ พรมไตร นำวุฒิการศึกษาที่ได้ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี ที่มหาวิทยาลัย

สุโขทัยธรรมาธิราช คณะการจัดการ สาขาวิชา ทรัพยากรมนุษย์

๑๑. นางสำรวย จักจักร นำวุฒิการศึกษาที่ได้ไปสมัครเป็น อสม.ประจำหมู่บ้าน ตำบลหนองหญ้าไซ

๑๒. นางอภิรัตน์ ผาอาจ นำวุฒิการศึกษาที่ได้ไปศึกษาต่อในระดับระดับปริญญาตรี ที่ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี คณะการจัดการ สาขาวิชาการจัดการทั่วไป

๑๓. นายธีรเทพ ยศรุ่งเรือง เป็นผู้นำชุมชน

๑๔. นายสุริยัน ภูบรม เป็นผู้นำชุมชน

๑๕. นางสาวจิดาภา ดาโสม ทำงานที่ปั๊มน้ำมัน (

๑๖. นายเกรียงไกร ป้ายนอก ประธานสมาคมคนพิการด้านสายตา ระดับอำเภอ อำเภอวังสามหมอ

๑๗. นางสาวชมัยภรณ์ อิ่มทรัพย์ ประกอบอาชีพผู้ช่วยพยาบาลที่โรงพยาบาลศูนย์อุดรธานี แผนกดูแลผู้ป่วย

๑๘. นางติ๋มนภา วิเชียรสาร ศึกษาต่อปริญญาตรี ที่มหาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (มสธ.)

๑๙. นายสุริยา ผลประสาท ดำรงตำแหน่งผู้ใหญ่บ้านบ้านหนองแวงโคก หมู่ที่ 2

๒๐. นางรัศมี ไทยใจดี ประกอบอาชีพด้านการค้าขาย

๒๑. นายสุวัฒนะชัย ไชยรัตน์ เจ้าหน้าที่ ที่โรงเรียนวังสามหมอวิทยาคาร

๒๒. น.ส.ณัฐทราพร วงค์จันทร์ นำวุฒิการศึกษาที่ได้ไปศึกษาต่อในระดับปริญญาตรี

๒๓. นายปณชัย เกษโสภา ประกอบอาชีพพนังงานแคชเชียร์ที่เทสโก้โลตัส สาขาวังสามหมอ

๒๔. นายธินกร เกษโสภา พนักงานบัญชีปั้มแก๊ส LPG วังสามหมอ

๑. รายงานผู้จบหลักสูตร รวม ๒ ภาคเรียน

๒. รายงานสรุปผลการติดตามผู้จบหลักสูตรที่นำความรู้ไปใช้หรือประยุกต์ใช้

๓. แบบติดตามผู้จบหลักสูตร

๔. หนังสือตรวจสอบคุณวุฒิ

๖.๔

ดีเลิศ

มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

๒๐

๒.๑ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับบริบท และความต้องการของผู้เรียน ชุมชน ท้องถิ่น

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้จัดการเรียนรู้ภายใต้โครงสร้างหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ดังนี้

๑. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา หรือคณะกรรมการการบริหารหลักสูตรและงานวิชาสถานศึกษา

๒. มีการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษาให้มีความสอดคล้องต่อความสนใจ และความต้องการของผู้เรียน โดยเลือกวิชาเพื่อลงทะเบียนเรียนในรายวิชาเลือกบังคับ ให้สอดคล้องกับบริบท และความต้องการของผู้เรียน ชุมชน ท้องถิ่น เพื่อให้นักศึกษาเกิดความรักในท้องถิ่นและไม่มีความแปลกแยก

๓. มีการจัดเวทีประชาคมการสำรวจความต้องการทางด้านความสนใจด้านการศึกษาของประชาชน เพื่อใช้เป็นฐานข้อมูลในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ให้ตรงต่อความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย

๔. มีกระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนในรายวิชา เพื่อวิเคราะห์ ปรับปรุงวิธีการจัดการเรียนรู้ให้เกิดผลสัมฤทธิ์และบรรลุวัตถุประสงค์

โดยในการสถานศึกษามีการเรียนการสอนที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับท้องถิ่นของตนทำให้ผู้เรียนไม่เกิดความแปลกแยกกับท้องถิ่น สามารถดำเนินชีวิตและพัฒนาท้องถิ่นให้เจริญก้าวหน้าได้อย่างสอดคล้องกับความเป็นจริงรอบๆตัว การเปิดโอกาสให้บุคลากรในท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในการเรียนการสอน เป็นการประสานความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างสถานศึกษากับชุมชน เป็นการผนึกกำลังร่วมกันเพื่อสร้างสรรค์พัฒนาทางการศึกษาและท้องถิ่นให้เจริญก้าวหน้าตามความต้องการและเหมาะสม สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมต่างๆทั้งทางเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา วัฒนธรรม ฯลฯ ซึ่งจะเป็นการพัฒนาที่มั่นคงและยั่งยืน

จากผลการดำเนินงานที่ผ่านมาสถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรให้มีความสอดคล้องกับแผนแม่บทและสอดคล้องกับบริบท ความต้องการของผู้เรียน โดยมีร่องรอยดังนี้

๑. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา หรือคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษา

๒. หลักสูตรสถานศึกษาระดับประถมศึกษา

๓. หลักสูตรสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

๔. หลักสูตรสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

๕. บันทึก/วาระการประชุม

๖. การจัดเวทีประชุมประชาคม

๗. แบบสำรวจความต้องการและความสนใจการเรียนรู้

๘. รายงานผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษา

ดีเลิศ

๒.๒ สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีที่เข้ามามีบทบาทสำคัญในด้านการจัดการเรียนการสอนของนักศึกษา สื่อถือว่าเป็นสิ่งที่มีบทบาทสำคัญมากในการสร้างความรู้ความเข้าใจในบทเรียนเป็นสิ่งที่อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ สร้างความรู้ความเข้าใจเกิดความรู้ที่รวดเร็วกับผู้เรียน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ดำเนินการดังนี้

๑. มีการจัดอบรมด้านการส่งเสริมเพื่อพัฒนาศักยภาพของบุคลากรด้านกระบวนการผลิตสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีให้กับบุคลากร เพื่อใช้ในการผลิตและพัฒนาสื่อในการจัดการเรียนรู้ให้กับนักศึกษา

๒. มีการจัดหาสื่อสิ่งพิมพ์ที่มีความสอดคล้องกับรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียน

๓. มีการจัดหาแหล่งเรียนรู้ภายในชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้านในการสืบค้นสร้างการเรียนรู้ที่ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัฒน์ของนักศึกษา

๔. มีการจัดทำคลิปการสอนออนไลน์ ผ่านช่อง Youtube

๕. มีการจัดผลิตสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยี เพื่อช่วยในการเรียนรู้ด้วยโปรแกรม Google Classroom Line Google Meet เพื่อสนองตอบต่อยุคเทคโนโลยีดิจิทัล

๑. คำสั่ง บันทึกข้อความ บันทึกหรือรายงานการประชุม

๒. ทำเนียบสื่อเทคโนโลยีดิจิทัล แหล่งเรียนรู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น

๓. แบบประเมินความพึงพอใจ

๔. รายงานผลการประเมินคุณภาพเกี่ยวกับการใช้สื่อเทคโนโลยีดิจิทัล แหล่งเรียนรู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่น

๕. หลักสูตรสถานศึกษา

๖. แผนการจัดการเรียนรู้

๗. โครงการ/แผนงาน

๘.คลิปการสอน ผ่านสื่อ Youtube

๙. สื่อการจัดการเรียนการสอนออนไลน์

ดีเลิศ

๒.๓ ครูมีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ มุ่งเน้นให้ครูมีกระบวนการในการคัดกรองและวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่ม เพื่อออกแบบการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียน มีการทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน มีระบบช่วยเหลือนักศึกษา เพื่อให้นักศึกษาบรรลุเป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ มีขั้นตอนดังนี้

๑. ครูมีการจัดทำการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล

๒. มีการจัดทำแผนการเรียนรู้เป็นรายวิชา

๓. มีการจัดการเรียนการสอนด้วยวิธีพบกลุ่ม และการสอนออนไลน์ด้วยโปรแกรม google classroom และโปรแกรม google meet

๔.มีการจัดสื่อที่หลากหลายให้กับผู้เรียนที่มีความสอดคล้องกับรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียน

๔. มีการนำนักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่สถานศึกษาดำเนินการ

ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญนั้น ต้องอาศัยบทบาทของครูและบทบาทของนักศึกษาร่วมกัน ดังนั้นบทบาทที่จะช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ของบุคคลทั้งสองฝ่าย โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้เน้นประสบการณ์ตรงสัมพันธ์กับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากกลุ่ม ฝึกคิดอย่างหลากหลายและสร้างสรรค์จินตนาการตลอดจนได้แสดงออกอย่างชัดเจน มีการเสริมแรงให้ค้นหาคำตอบ แก้ปัญหา ด้วยการคิดวิเคราะห์ โดยให้นักศึกษาเลือกทำกิจกรรมตามความสามารถ ความถนัดและความสนใจ ตามศักยภาพของผู้เรียน ฝึกระเบียบวินัยในการทำงาน ฝึกประสบการณ์ปรับปรุงตนเองและยอมรับผู้อื่น ตลอดจนการใฝ่หาความรู้อย่างต่อเนื่อง และช่วยเหลือผู้อื่นด้วยจิตอาสา

. ผลการวิเคราะห์ศักยภาพการเรียนรู้ของผู้เรียนรายบุคคล

๒. แผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

๓. บันทึกหลังการจัดการเรียนรู้

๔. รายงานการวิจัยในชั้นเรียน เพื่อพัฒนาแก้ไขปัญหาของผู้เรียน

๕. แบบประเมินคุณภาพครูหรือผู้จัดการเรียนรู้

๖. รายงานการจัดการสอนออนไลน์ผ่านนวัตกรรมเทคโนโลยี

ดีเลิศ

๒.๔ การวัดและประเมินผล

การเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ มีกระบวนการวัดผลและประเมินผลนักศึกษา โดยมีการใช้เครื่องมือและวิธีการวัดและประเมินผลที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของแผนการการเรียนรู้อย่างชัดเจน เพื่อนำผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ไปใช้ในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อผู้เรียนมีขั้นตอนดังนี้

๑. มีการประชุมชี้แจ้งแต่งตั้งคณะกรรมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน

๒. มีการประชุมชี้แจงให้กับคณะครูในการจัดทำเครื่องมือวัดผลและประเมินผลนักศึกษา

๓. มีการจัดทำเครื่องมือในการวัด/ประเมินผลการศึกษาในรายวิชาที่นักศึกษาในกลุ่มได้ลงทะเบียนเรียนในแต่ละภาคเรียน

๔. มีการวัดและประเมินผลกลางภาคเรียนโดยใช้ข้อสอบกลางของสถานศึกษา/จังหวัด

๕. มีการสอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายภาคเรียน โดยใช้ข้อสอบของส่วนกลาง

๖. มีการดำเนินการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non-Formal National Education Test : N-NET) สำหรับผู้ที่คาดว่าจะจบ

๗. ครูมีการนำผลการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ไปใช้ในการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนต่อไป

๑. บันทึกข้อความ คำสั่ง บันทึกหรือรายงานการประชุมที่เกี่ยวข้อง

๒.แผนการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา

๓. เครื่องมือหรือวิธีการวัดผลและประเมินผลที่สอดคล้องกับแผนการจัดการเรียนรู้

๔. บันทึกหลักการจัดการเรียนรู้

ยอดเยี่ยม

รวมคะแนน

๗๐

๖๒.๒๐


หมายเหตุ

1. ในช่อง “กระบวนการ/วิธีการดำเนินงานของสถานศึกษา” ให้คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษาเขียนอธิบายรายละเอียดกระบวนการ/วิธีการดำเนินงานของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับประเด็น การพิจารณาในแต่ละรายประเด็นการพิจารณา

ทั้งนี้ หากสถานศึกษาใดไม่มีข้อมูล “กระบวนการ/วิธีการดำเนินงาน” ในมาตรฐานการศึกษา/ประเด็นการพิจารณาใดก็ตาม ให้คณะกรรมการประเมินตนเองของสถานศึกษาใส่เครื่องหมาย “-” หรือใส่คำว่า “ไม่มี” ลงในช่อง“กระบวนการ/วิธีการดำเนินงานของสถานศึกษา” ที่ตรงกับมาตรฐานการศึกษา/ประเด็นการพิจารณา ดังกล่าว

2. ในช่อง “ผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นและร่องรอยหลักฐานที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานตามสภาพจริง” ให้คณะกรรมการประเมินตนเองเขียนสรุปผลการดำเนินงานหรือร่องรอย หลักฐาน หรือข้อมูลเชิงประจักษ์ที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานตามสภาพจริงที่สอดคล้องกับประเด็นการพิจารณาในแต่ละรายประเด็นการพิจารณา

ทั้งนี้ หากสถานศึกษาใดไม่มีข้อมูล “ผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นและร่องรอยหลักฐานที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานตามสภาพจริง” ในมาตรฐานการศึกษา/ประเด็นการพิจารณาใดก็ตาม ให้คณะกรรมการประเมินตนเองใส่เครื่องหมาย “-” หรือใส่คำว่า “ไม่มี” ลงในช่อง “ผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้นและร่องรอยหลักฐานที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานตามสภาพจริง” ที่ตรงกับมาตรฐานการศึกษา/ประเด็นการพิจารณา ดังกล่าวด้วย

3. ในช่อง “ผลการประเมินคุณภาพ” ในช่องย่อย “คะแนนที่ได้” ให้คณะกรรมการประเมินตนเองใส่คะแนนผลการประเมินตนเองที่ดำเนินการประเมินและสรุปได้ ในแต่ละรายมาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา

สำหรับในมาตรฐานการศึกษา/ประเด็นการพิจารณาใดก็ตาม ที่สถานศึกษาใดไม่มีข้อมูล “กระบวนการ/วิธีการดำเนินงาน” ให้ใส่ “๐” (ศูนย์) ลงในช่อง “ผลการประเมินคุณภาพ คะแนนที่ได้” ให้ตรงกับมาตรฐานการศึกษา/ประเด็นการพิจารณา ดังกล่าว

4. ในช่อง “ระดับคุณภาพ” ให้คณะกรรมการประเมินตนเองใส่ระดับคุณภาพที่แปรผลได้จากการนำคะแนนที่ได้เทียบกับเกณฑ์ระดับคุณภาพในแต่ละรายประเด็นการพิจารณา และในภาพรวมของสถานศึกษา

สำหรับในมาตรฐานการศึกษา/ประเด็นการพิจารณาใดก็ตาม ที่สถานศึกษาใดมีคะแนนเท่ากับ “๐” (ศูนย์) คะแนน ให้ใส่คำว่า “กำลังพัฒนา” ลงใน ช่อง “ระดับคุณภาพ”


จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในมาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีคะแนนรวมเท่ากับ ๔๕.๒๐คะแนน อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม และในมาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มีคะแนนรวมเท่ากับ ๑๗.๐๐ คะแนน อยู่ในระดับ ดีเลิศ

ซึ่งจากผลการประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พบว่า สถานศึกษามีจุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา ดังนี้

จุดเด่น

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ให้ความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนที่มุ่งเน้นการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมและคุณลักษณะที่ดีที่สถานศึกษากำหนดผ่านกิจกรรมโครงการต่าง ๆ ให้กับนักศึกษา และนักศึกษามีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการเรียน โดยนักศึกษามีการใช้งานห้องเรียนออนไลน์ Google Class room มีการติดต่อสื่อสารผ่านทางแอพพลิเคชั่นต่าง ๆ เช่น Face book , Line เป็นต้น นักศึกษาที่จบการศึกษาจากศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้นำความรู้ไปศึกษาต่อในระดับที่สูงและนำไปประกอบอาชีพส่วนตัว ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ แก้ไขปัญหาและประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตได้

มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้ความสำคัญกับการพัฒนาผู้เรียนให้มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์ โดยใช้การจัดทำโครงงานเป็นฐาน ส่งเสริมให้ผู้เรียนกล้าคิดกล้าแสดงออกในทางที่สร้างสรรค์ ก้าวทันเทคโนโลยีดิจิทัล มีการนำนักศึกษาเข้าร่วมแข่งขันมหกรรมกีฬา กศน.เกมส์ มีการประกวดโครงงานนักศึกษา การเข้าร่วมการแข่งขันทักษะทางวิชาการ เพื่อส่งเสริมกระบวนการคิด วิเคราะห์ การแก้ปัญหา และการประยุกต์ใช้ความรู้ในการแก้ปัญหาในการดำเนินชีวิตได้

จุดที่ควรพัฒนา

บุคลากรศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ควรได้รับการพัฒนาในด้านงานวิชาการเพิ่มมากขึ้น ซึ่งในการจัดการเรียนการสอนนั้นครูยังขาดทักษะในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และยังขาดทักษะการเขียนรายงานในเชิงวิชาการ ซึ่งในหลายกิจกรรม หลายโครงการมีการดำเนินการที่ดี ถ้าบุคลากรได้พัฒนางานในด้านวิชาการก็จะทำให้สถานศึกษามีความเป็นเลิศทางวิชาการอย่างแน่นอน และสถานศึกษาควรมีการติวเข้มเพื่อพัฒนาผู้เรียนในทุก ๆ เดือน เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของสถานศึกษาให้สูงขึ้น


ผลการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาต่อเนื่อง (เฉพาะมาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง และมาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง)

มาตรฐาน/

ประเด็นการพิจารณา

ค่าน้ำหนัก

(คะแนน)

กระบวนการ/วิธีการดำเนินงาน

ของสถานศึกษา

ผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้น

และร่องรอย หลักฐานที่เกิดขึ้น

จากการดำเนินงานตามสภาพจริง

ผลการประเมินคุณภาพ






คะแนนที่ได้

ระดับคุณภาพ

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพ

ของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง

๕๐

๑.๑ ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องมีความรู้ ความสามารถ และหรือทักษะ และหรือคุณธรรมเป็นไปตามเกณฑ์การจบหลักสูตร

๑๐

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้ดำเนินงานด้านการศึกษาต่อเนื่อง ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีความรู้ความสามารถ มีทักษะ มีคุณธรรม เป็นต้นไปตามเกณฑ์การจบ โดยมีการจัดการศึกษาต่อเนื่องในรูปแบบของกลุ่มสนใจ และชั้นเรียนวิชาชีพ ตั้งแต่ ๖ ชั่วโมงขึ้นไป โดยมีกระบวนการดังนี้

๑. มีการสำรวจความต้องการที่จะศึกษาการศึกษาต่อเนื่องในรูปแบบต่าง ๆ

๒. รวบรวมข้อมูลและจัดทำหลักสูตรเพื่อเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ และเสนอให้ผู้บริหารอนุมัติการใช้หลักสูตร

๓. มีหลักสูตรที่เปิดสอนในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ ดังต่อไปนี้

๑. หลักสูตรกลุ่มสนใจ ๕ ชั่วโมง จำนวน ๕๒ กลุ่ม จำนวน ๗๖๐ คน เช่น หลักสูตรการทำพรมเช็ดเท้า หลักสูตรการทำลูกประคบ หลักสูตรการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร หลักสูตรการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ หลักสูตรการทำขนมไทย หลักสูตรการชงชา หลักสูตรการทำขนมกรอบเค็มเป็นต้น

๒. หลักสูตรชั้นเรียนวิชาชีพ ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๒๒ กลุ่ม จำนวน ๓๘๖ คน เช่น หลักสูตรการทอผ้าพื้นเมือง หลักสูตรการทำจักสารจากไม้ไผ่ หลักสูตรการทำพรมเช็ดเท้า หลักสูตรการแปรรูปผักและผลไม้ หลักสูตรการสานตะกร้าจากเส้นพลาสติก เป็นต้น

๑. หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง (กศ.ตน.๑๕)

๒. แบบติดตามผู้เรียนหลังจบการศึกษาต่อเนื่อง (กศ.ตน.๒๒)

๓. แบบรายงานผลการจัดการศึกษาต่อเนื่อง (กศ.ตน.๒๖)

๔. ทะเบียนผู้จบหลักสูตรการจัดการศึกษาต่อเนื่อง (กศ.ตน.๙)

๕. แบบประเมินความพึงพอใจ (กศ.ตน.๑๐)

ยอดเยี่ยม

๑.๒ ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ บนฐานค่านิยมร่วมของสังคม

๒๐

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง โดยเน้นการจัดกิจกรรมที่ผู้เรียนสามารถ นำความรู้ไปใช้ได้ หรือประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตหรือประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ หรือพัฒนาอาชีพของตนเองได้อย่างเหมาะสมบนฐานความอดทน ความมุ่งมั่นในการทำสิ่งหนึ่งสิ่งใด โดยยึดหลักความพอเพียง มีส่วนร่วมรับผิดชอบและสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคมและชุมชนอย่างยั่งยืน และเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง ดังนี้

- กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ

- กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต

- กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน

- กิจกรรมการศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

๑. หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง (กศ.ตน.๑๕)

๒. ใบลงทะเบียนผู้สมัครเรียนหลักสูตรการจัดการศึกษาต่อเนื่อง (กศ.ตน.๑)

๓. แบบติดตามผู้เรียนหลังจบการศึกษาต่อเนื่อง (กศ.ตน.๒๒)

๔. ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ (DMIS)

๑๙.๐๐

ยอดเยี่ยม

๑.๓ ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่นำความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจักษ์หรือตัวอย่างที่ดี

๒๐

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้ดำเนินการพิจารณาจากผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องตั้งแต่ ๖ ชั่วโมงขึ้นไป ที่มีการนำความรู้จากการเข้ารับการศึกษาต่อเนื่องของสถานศึกษาไปใช้สำหรับตนเอง ครอบครัว หรือชุมชน จนกระทั่งมีผลการดำเนินงานปรากฏให้เห็นเป็นประจักษ์ในพื้นที่ หรือมีผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มความยั่งยืนทั้งที่เป็นรายบุคคลหรือเป็นรายกลุ่ม โดยได้กำหนดค่าเป้าหมายของสถานศึกษาไว้จำนวน ๒๘ คน

๑. ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (แบบชั้นเรียนวิชาชีพ ๓๑ ชม.ขึ้นไป) จำนวน ๑๒ กลุ่ม จำนวน ๓๐๖ คน เป็นตัวอย่างที่ดีจำนวน ๑๒ คน

๒. ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (พัฒนาอาชีพระยะสั้นไม่เกิน ๓๐ ชม.) จำนวน ๑๒ กลุ่ม จำนวน ๗๖๐ คน

๓. การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตจำนวน ๑๒ กลุ่ม จำนวน ๒๔๐ คน เป็นตัวอย่างที่ดีจำนวน ๖ คน

๔. การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมชุมชน จำนวน ๑๒ กลุ่ม จำนวน ๑๘๐ คน เป็นตัวอย่างที่ดีจำนวน ๖ คน

๕. การศึกษาเพื่อพัฒนาแหล่งเรียนรู้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จำนวน ๑๒ กลุ่ม จำนวน ๑๘๐ คน เป็นตัวอย่างที่ดีจำนวน ๖ คน

๖.ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน (แบบชั้นเรียนวิชาชีพ ๓๑ ชม.ขึ้นไป) หนึ่งอำเภอ หนึ่งอาชีพ จำนวน ๔ กลุ่ม จำนวน ๘๐ คน เป็นตัวอย่างที่ดีจำนวน ๔ คน

ยกตัวอย่าง

1. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตร การทำพรมเช็ดเท้าจากเศษผ้าแบบถักมือ ในระหว่างวันที่ ๑๒- ๑๙ มกราคม ๒๕๖๔ ณ ศาลาประชาคมบ้านโนนเสถียร หมู่ที่ ๙ ตำบลวังสามหมอ อำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี โดยมี นางคำ จำปี ผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตร การทำพรมเช็ดเท้าจากเศษผ้าแบบถักมือ ได้นำความรู้ไปต่อยอดโดยทำพรมเช็ดเท้าขายหน้าบ้านเป็นอาชีพเสริม สร้างรายได้ให้กับครอบครัวให้มีชีวิตที่ดีขึ้นได้

2. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตร การทำโลชั่นกันยุง ในวันที่ ๒๑ มกราคม ๒๕๖๔ ณ ศาลาประชาคมบ้านหัวนาคำ หมู่ที่ ๑๐ ตำบลวังสามหมอ อำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี โดยมี นางปวีณา สาพระ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตร การทำโลชั่นกันยุง ได้นำความรู้ไปต่อยอดโดยทำโลชั่นกันยุงใช้ในครอบครัวเพื่อลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน

3. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตร การทำพรมเช็ดเท้าจากเศษผ้าแบบถักมือ ในระหว่างวันที่ ๑๔- ๒๒ มิถุนายน ๒๕๖๔ ณ ศาลาประชาคมบ้านโนนสะอาด หมู่ที่ ๔ ตำบลวังสามหมอ อำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี โดยมี นางสาวธงชัย พุทธวงษ์ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตร การทำพรมเช็ดเท้าจากเศษผ้าแบบถักมือ ได้นำความรู้ไปต่อยอดโดยทำพรมเช็ดเท้าขายหน้าบ้านเป็นอาชีพเสริม สร้างรายได้ให้กับครอบครัวให้มีชีวิตที่ดีขึ้นได้

4. โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตร การทำข้าวเกรียบฟักทอง ในวันที่ ๒๓ มิถุนายน ๒๕๖๔ ณ ศาลาประชาคมบ้านโนนสะอาด หมู่ที่ ๔ ตำบลวังสามหมอ อำเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี โดยมี นางบุญกอง ศรีโลห้อ ผู้เข้าร่วมกิจกรรมโครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตร การทำข้าวเกรียบฟักทอง ได้นำความรู้ไปต่อยอดโดยทำข้าวเกรียบฟักทองขายในชุมชนเพื่อเพิ่มรายได้ในครอบครัว

5. นางหนูใบ ทระคำหาร ได้นำความรู้จาการศึกษาศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรการทำพรมเช็ดเท้าแบบถักมือ ไปประกอบอาชีพสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว

6. นางเขียว กาสี ได้นำความรู้จาการศึกษาศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรการทำพรมเช็ดเท้าแบบถักมือ ไปประกอบอาชีพสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว

7. นางอุไร ลาสองชั้น ได้นำความรู้จาการศึกษาศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรการทำธุง ไปประกอบอาชีพสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว

8. นางหนูวิท ศรีเสาวงค์ ได้นำความรู้จาการศึกษาศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน หลักสูตรการทำลูกประคบ ไปประกอบอาชีพสร้างรายได้ให้กับตนเองและครอบครัว

9. นางสมาน พันกกค้อ นำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ สร้างรายได้เพิ่ม ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

10. นายคำปุน โสภาอุทก นำความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาจากศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ไปปรับใช้ในการทำงานด้านการรับเหมาก่อสร้าง

11. นางลือ วรรณกุล นำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดจากอาชีพเดิม และเพิ่มพูนรายได้ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

12. นางแสวง วรรณกุล นำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดจากอาชีพเดิม และเพิ่มพูนรายได้ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

13. นางนภาพร ผ่านชมภู นำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดจากอาชีพเดิม และเพิ่มพูนรายได้ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

14. นางสมัย ทองคำ นำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดจากอาชีพเดิม และเพิ่มพูนรายได้ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

15. นางเมตตา ศิลาพจน์ นำความรู้ที่ได้ไปต่อยอด และเพิ่มพูนรายได้ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

16. นางราตรี บุตรอินทร์ นำความรู้ที่ได้ไปต่อยอด และเพิ่มพูนรายได้ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

17. น.ส.อุบลวรรณ วันตะคุ นำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดจากอาชีพเดิม และเพิ่มพูนรายได้ ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ โดยการขายสินค้าออนไลน์ ผ่าน Facebook

18. นางหนูทิม โพนศิลา จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องหลักสูตรการแปรรูปผักและผลไม้ จำนวน 40 ชั่วโมง สามารถนำความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจักษ์ คือมีความรู้ด้านการแปรรูปผักและผลไม้ในสวนเพื่อเก็บรักษาไว้ที่อุณหภูมิห้องได้นาน โดยไม่เกิดการ เน่าเสียและขึ้นรา และช่วยแก้ไขปัญหาผลผลิตออกมาเป็นจำนวนมากเกินความต้องการในการบริโภคผลสด จนเกิดปัญหาราคาตกต่ำ การนำมาแปรรูปด้วยวิธีนี้จะได้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่แข็งกระด้างเนื้อสัมผัสภายในนุ่ม ชวนรับประทาน เหมาะสำหรับผลิตเพื่อรับประทานเอง หรือ เพื่อจำหน่ายในเชิงพาณิชย์ โดยมีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง มีความรู้ความเข้าใจและฝึกทักษะการบริหารจัดการในอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาอาชีพของตนเอง

19. นางประยูร ชำนาญ จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องหลักสูตรการทำผักกาดขาวลุยสวน จำนวน 5 ชั่วโมง สามารถนำความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจักษ์ คือมีความรู้ด้านการแปรรูปผัก เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิตด้านการเกษตรสามารถนำความรู้และทักษะไปปฏิบัติจริง ได้อย่างมีคุณภาพและมีคุณธรรมและจริยธรรม เน้นการฝึกอาชีพ การทำอาหารว่างและนำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน เหมาะสำหรับผลิตเพื่อรับประทานเอง หรือ เพื่อจำหน่ายในเชิงพาณิชย์ โดยมีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง มีความรู้ความเข้าใจและฝึกทักษะการบริหารจัดการในอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาอาชีพของตนเอง อาชีพเสริมเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัวและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและชุมชนโดยนำไปจำหน่าย ภายในชุมชน หน้าบ้าน และร้านค้าชุมชน

20. นางเรไร ว่องไว จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องหลักสูตรการทำขนมตะโก้ จำนวน 5 ชั่วโมง สามารถนำความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจักษ์ คือมีความรู้ด้านการทำขนม และอาหารว่าง เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิตด้านการเกษตร สามารถนำความรู้และทักษะไปปฏิบัติจริง ได้อย่างมีคุณภาพและมีคุณธรรมและจริยธรรม เน้นการฝึกอาชีพ การทำอาหารว่าง และนำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน เหมาะสำหรับผลิตเพื่อรับประทานเอง หรือ เพื่อจำหน่ายในเชิงพาณิชย์ โดยมีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง มีความรู้ความเข้าใจและฝึกทักษะการบริหารจัดการในอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาอาชีพของตนเอง เป็นการประกอบอาชีพที่หลากหลาย มีรายได้และนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้จริง ในการดำาเนินชีวิตและสามารถประกอบอาชีพเสริมทำให้สามารถลดรายจ่ายเพิ่ม รายได้ให้กับครอบครัว มีอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัวและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและชุมชนโดยนำไปจำหน่าย ภายในชุมชน หน้าบ้าน และร้านค้าชุมชน

21. นางประจักษ์ ทองมา จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องหลักสูตรการทำธุง จำนวน 5 ชั่วโมงสามารถนำความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจักษ์ คือมีความรู้ด้านการศิลปะการทำธุง เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลผลิตด้านงานประดิษฐ์ สามารถนำความรู้และทักษะไปปฏิบัติจริง ได้อย่างมีคุณภาพและมีคุณธรรมและจริยธรรม เน้นการฝึกอาชีพ การทำงานด้านศิลปะ และนำมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน สามารถนำแขวนตามงานบุญประเพณีต่างๆมากขึ้น ซึ่งอาจเป็นจุดเริ่มต้นของการฟื้นฟูการสร้างสรรค์งานธุงอีสานอันมีอยู่แล้ว เหมาะสมตามจารีตประเพณีและปัจจุบันได้มีการนำมาประยุกต์แปรรูป เป็นผลิตภัณฑ์ที่หลากหลายรูปแบบต่างๆเช่น ของที่ระลึกของฝาก ของชำร่วย ซึ่งเป็นการเพิ่มรายได้อีกทางหนึ่งให้กับ ตนเองครอบครัว และการสร้างอาชีพให้กับชุมชน และสามารถสืบสานความรู้ ภูมิปัญญาแก่อนุชนรุ่นหลังสืบไป หรือ เพื่อจำหน่ายในเชิงพาณิชย์ มีทักษะการบริหารจัดการในอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาอาชีพของตนเอง เป็นการประกอบอาชีพที่หลากหลาย มีรายได้และนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้จริง ในการดำาเนินชีวิตและสามารถประกอบอาชีพเสริมทำให้สามารถลดรายจ่ายเพิ่ม รายได้ให้กับครอบครัว มีอาชีพเสริมเพิ่มรายได้ให้แก่ครอบครัวและใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและชุมชนโดยนำไปจำหน่าย ภายในชุมชน หน้าบ้าน และร้านค้าชุมชน

22. นางสมาน พันกกค้อ นำความรู้ที่ได้จาก การศึกษาศูนย์ฝึกอาชีพ หลักสูตรการทอผ้า ไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ สร้างรายได้เพิ่ม ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

23. นางบุญเพ็ง ภูอาราม นำความรู้ที่ได้จาก การศึกษาศูนย์ฝึกอาชีพ หลักสูตรการทอผ้า ไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ สร้างรายได้เพิ่ม ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

24. นางสมภาร บุราณเดช นำความรู้ที่ได้จาก การศึกษาศูนย์ฝึกอาชีพ หลักสูตรการทอผ้า ไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ สร้างรายได้เพิ่ม ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

25. นางราตรี ศรีหริ่ง นำความรู้ที่ได้จาก การศึกษาศูนย์ฝึกอาชีพ หลักสูตรการทอผ้า ไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ สร้างรายได้เพิ่ม ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

26. นางหนูพิน โพธิ์สัย นำความรู้ที่ได้จาก การศึกษาศูนย์ฝึกอาชีพ หลักสูตรการทอผ้า ไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ สร้างรายได้เพิ่ม ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

27. นางจอมศรี เหล่ามาลา นำความรู้ที่ได้จาก การศึกษาศูนย์ฝึกอาชีพ หลักสูตรการทอผ้า ไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ สร้างรายได้เพิ่ม ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

28. นางสมคิด พันธ์กกค้อ นำความรู้ที่ได้จาก การศึกษาศูนย์ฝึกอาชีพ หลักสูตรการทอผ้า ไปต่อยอดในการประกอบอาชีพ สร้างรายได้เพิ่ม ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์

29. นางมณียา โคตรศรี จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องหลักสูตรการทอผ้าพื้นเมือง จำนวน 40 ชั่วโมง สามารถนำความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจักษ์ คือมีความรู้ด้านการทอผ้า การทอผ้านั้นต้องอาศัยฝีมือและความรู้ความชำนาญของผู้ทอเป็นอย่างมาก เป็นงานศิลปะที่มีอยู่เพียงชิ้นเดียวในโลก เพราะแต่ละคนที่ทำแต่ละขั้นตอน จะมีความแตกต่างกัน เส้นด้ายที่สาวได้แต่ละช่วงเวลาหรือแต่ละระยะของด้ายให้ความหนาของเส้นไม่เท่ากัน นอกจากนั้นแล้วความสามารถในการทอ การสอดกระสวย ความแรงในการตีกระทบหรือการฟัดทำให้ได้สีเข้มอ่อนต่างกัน การเรียงเส้นด้ายให้ตรงลายจะแสดงถึงความคมชัดและความชำนาญของผู้ทอแต่ละคน อากาศ อุณหภูมิ หรือแม้แต่อารมณ์ความรู้สึกของผู้ทอ สิ่งเหล่านี้มีผลกับความสวยงามของผ้าผืนนั้น ๆ จึงทำให้ผ้าทอมือแต่ละผืนที่ทอ มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเองและมีเพียงผืนเดียวในโลกและเป็นผู้ทอผ้าเพื่อนำส่งเข้าในศูนย์ศิลปาชีพบางไทร เพื่อจำหน่ายในเชิงพาณิชย์ โดยมีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง มีความรู้ความเข้าใจและฝึกทักษะการบริหารจัดการในอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาอาชีพของตนเอง

30. นางหนูปาน น้อยโนลา จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องหลักสูตรการทอผ้าพื้นเมือง จำนวน 40 ชั่วโมง สามารถนำความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจักษ์ คือมีความรู้ด้านการทอผ้า การทอผ้านั้นต้องอาศัยฝีมือและความรู้ความชำนาญของผู้ทอเป็นอย่างมาก เป็นงานศิลปะที่มีอยู่เพียงชิ้นเดียวในโลก เพราะแต่ละคนที่ทำแต่ละขั้นตอน จะมีความแตกต่างกัน เส้นด้ายที่สาวได้แต่ละช่วงเวลาหรือแต่ละระยะของด้ายให้ความหนาของเส้นไม่เท่ากัน นอกจากนั้นแล้วความสามารถในการทอ การสอดกระสวย ความแรงในการตีกระทบหรือการฟัดทำให้ได้สีเข้มอ่อนต่างกัน การเรียงเส้นด้ายให้ตรงลายจะแสดงถึงความคมชัดและความชำนาญของผู้ทอแต่ละคน อากาศ อุณหภูมิ หรือแม้แต่อารมณ์ความรู้สึกของผู้ทอ สิ่งเหล่านี้มีผลกับความสวยงามของผ้าผืนนั้น ๆ จึงทำให้ผ้าทอมือแต่ละผืนที่ทอ มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเองและมีเพียงผืนเดียวในโลกและเป็นผู้ทอผ้าเพื่อนำส่งเข้าในศูนย์ศิลปาชีพบางไทร เพื่อจำหน่ายในเชิงพาณิชย์ โดยมีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง มีความรู้ความเข้าใจและฝึกทักษะการบริหารจัดการในอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาอาชีพของตนเอง

31. นางคำผาย อุประ จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องหลักสูตรการทอผ้าพื้นเมือง จำนวน 40 ชั่วโมง สามารถนำความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจักษ์ คือมีความรู้ด้านการทอผ้า การทอผ้านั้นต้องอาศัยฝีมือและความรู้ความชำนาญของผู้ทอเป็นอย่างมาก เป็นงานศิลปะที่มีอยู่เพียงชิ้นเดียวในโลก เพราะแต่ละคนที่ทำแต่ละขั้นตอน จะมีความแตกต่างกัน เส้นด้ายที่สาวได้แต่ละช่วงเวลาหรือแต่ละระยะของด้ายให้ความหนาของเส้นไม่เท่ากัน นอกจากนั้นแล้วความสามารถในการทอ การสอดกระสวย ความแรงในการตีกระทบหรือการฟัดทำให้ได้สีเข้มอ่อนต่างกัน การเรียงเส้นด้ายให้ตรงลายจะแสดงถึงความคมชัดและความชำนาญของผู้ทอแต่ละคน อากาศ อุณหภูมิ หรือแม้แต่อารมณ์ความรู้สึกของผู้ทอ สิ่งเหล่านี้มีผลกับความสวยงามของผ้าผืนนั้น ๆ จึงทำให้ผ้าทอมือแต่ละผืนที่ทอ มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเองและมีเพียงผืนเดียวในโลกและเป็นผู้ทอผ้าเพื่อนำส่งเข้าในศูนย์ศิลปาชีพบางไทร และเคยเข้าถวายผ้าทอกับสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ และผลิตสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถเพื่อจำหน่ายในเชิงพาณิชย์ โดยมีความรู้และทักษะในการประกอบอาชีพ สามารถสร้างรายได้ที่มั่นคง มีความรู้ความเข้าใจและฝึกทักษะการบริหารจัดการในอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาอาชีพของตนเอง

๑. หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง (กศ.ตน.๑๕)

๒. ใบลงทะเบียนผู้สมัครเรียนหลักสูตรการจัดการศึกษาต่อเนื่อง (กศ.ตน.๑)

๓. แบบติดตามผู้เรียนหลังจบการศึกษาต่อเนื่อง (กศ.ตน.๒๒)

๔. ภาพถ่ายการจัดกิจกรรมโครงการ และ รูปภาพการนำไปประกอบอาชีพ

๑๙.๐๐

ยอดเยี่ยม

มาตรฐานที่

๒ คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง

๒๐

๒.๑ หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องมีคุณภาพ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้ดำเนินงานการจัดทำหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องดังนี้

๑. สำรวจความต้องการของประชาชนที่สนใจการฝึกอบรมการศึกษาต่อเนื่องโดยใช้แบบสำรวจความต้องการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง (กศ.ตน.๑๓)

๒. สถานศึกษามีการจัดหาและจัดทำหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องตามความต้องการของประชาชน

๓. สถานศึกษามีการเสนอหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องทุกหลักสูตรให้คณะกรรมการสถานศึกษาให้ความเห็นชอบ และเสนอให้ผู้บริหารสถานศึกษาอนุมัติก่อนนำหลักสูตรไปใช้

๔. มีการรวบรวมหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง เสนอแจ้งการจัดการศึกษาต่อเนื่องให้ สำนักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี ทราบ

๕. มีการนิเทศการจัดการศึกษาต่อเนื่องในทุกหลักสูตรโดยคณะกรรมการนิเทศภายในของสถานศึกษา

๖. สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องให้มีความทันสมัย และนำไปใช้กับกลุ่มเป้าหมายในครั้งต่อไป

๗. สถานศึกษามีการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรหลังการนำไปใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้เพื่อมาปรับใช้ให้ทันสมัยและตรงตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตรในต่อไป

๑.หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง

๒. หนังสือแจ้งจัดการศึกษาต่อเนื่อง (กศ.ตน.๔)

๓. แบบอนุมัติความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องจากคณะกรรมการสถานศึกษา

๔.หนังสือขออนุญาตจัดการศึกษาต่อเนื่อง

(กศ.ตน. ๑๖)

๕.แบบสำรวจความต้องการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง (กศ.ตน.๑๓)

ยอดเยี่ยม

๒.๒ วิทยากรการศึกษาต่อเนื่องมีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ตรงตามหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ขั้นตอนการคัดเลือกวิทยากรดังนี้

๑. สถานศึกษามีการประกาศรับสมัครวิทยากรการศึกษาต่อเนื่องให้ตรงตามความต้องการของหลักสูตร

๒. วิทยากรกรอกใบสมัครและแสดงหลักฐานของตัวเองเพื่อแสดงว่าเป็นบุคคล ที่มีความรู้ ความสามารถตรงตามหลักสูตร

๓. วิทยากรมีการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่องตามหลักสูตรที่จะสอน

๔. วิทยากรจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแผนและใช้สื่อที่สอดคล้องและตรงกับเนื้อหาของหลักสูตร

๕. วิทยากรมีการวัดผลและประเมินผลผู้เรียนเป็นระยะ ๆ ในแต่ละหลักสูตร เพื่อให้ผู้เรียนได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้

๑. ใบสมัครวิทยากร พร้อมหลักฐาน ต่าง ๆ ของวิทยากร

๒. แผนการจัดการเรียนรู้ของวิทยากร (กศ.ตน.๑๒)

๓. แบบประเมินผลการจัดการศึกษาต่อเนื่อง (กศ.ตน.๗)

๔. บัญชีลงเวลาวิทยากร (กศ.ตน.๕)

๕.ข้อมูลที่แสดงให้เห็นถึงความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ของวิทยากร เช่น ประกาศนียบัตร วุฒิบัตร เกียรติบัตร ประวัติการทำงาน

๖.คำสั่งแต่งตั้งวิทยากรการศึกษาต่อเนื่อง

๗.หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง

๘.แผนการจัดการเรียนรู้หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง

(แบบ กศ.ตน.๑๒ แผนการจัดการเรียนรู้ แบบ กศ.ตน.๗(๑),(แบบประเมินผลการจัดการศึกษาต่อเนื่อง แบบ กศ.ตน.๗(๒),กรอบการประเมินผลการจัดการศึกษาต่อเนื่อง,และแบบ กศ.ตน.๑๐ แบบประเมินความพึงพอใจ

๙.สื่อการเรียนรู้ที่วิทยากรใช้ในการจัดการเรียนรู้

๑๐.เครื่องมือวัดและประเมินผลผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง

๑๑.ข้อมูลหรือรายงานผลการวัดและประเมินผลการจัดการศึกษาต่อเนื่อง

๑๒.รายงานผลการนิเทศการจัดกระบวนการเรียนรู้ของวิทยากร

ยอดเยี่ยม

๒.๓ สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้จัดหา จัดทำ พัฒนา สื่อ แหล่งเรียนรู้ หรือภูมิปัญญาท้องถิ่นที่มีความสอดคล้องตามหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องของสถานศึกษา โดยมีขั้นตอนดังนี้

๑. มีการมอบหมายให้คณะครูสำรวจแหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่นในทุกตำบล

๒. นำข้อมูลที่สำรวจมากรอกในนวัตกรรมการเชื่อมโยงแหล่งเรียนรู้ของสำนักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี

๓. มีการจัดทำข้อมูลพื้นฐานผ่านระบบอินเตอร์เน็ตเพื่อให้ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าไปสืบค้นข้อมูลได้

๔. มีการนำนักศึกษาในแต่ละตำบลเข้าไปศึกษาแหล่งเรียนรู้ที่มีเพื่อส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้

๕. มีการทบทวนและสำรวจแหล่งเรียนรู้เพิ่มเติมในทุกภาคเรียนเพื่อให้ครอบคลุมในทุกมิติ

๑. ใบสมัครแหล่งเรียนรู้

๒. ข้อมูลนวัตกรรมแหล่งเรียนรู้ออนไลน์

๓. ข้อมูลสารสนเทศของแหล่งเรียนรู้

๔. ทำเนียบแหล่งเรียนรู้

๕. ภาพถ่าย

ยอดเยี่ยม

๒.๔ การวัดและประเมินผลผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้ดำเนินงานด้านการวัดและประเมินผล ดังต่อไปนี้

๑. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำเครื่องมือวัดผลและประเมินผลการศึกษาต่อเนื่อง

๒. ดำเนินการจัดทำเครื่องมือวัดผลก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน

๓. นำเครื่องมือที่สร้างเสร็จแล้วไปวัดผล โดยจะเน้นการวัดผลตามสภาพจริง

๔. มีการสรุปผลและรายงานผล

๕. มีการปรับปรุงเครื่องมือวัดผลและประเมินผล

๑. หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง

๒. แผนการจัดการเรียนรู้

๓. เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้

๔. ภาพถ่าย

๕. สรุปโครงการ

ยอดเยี่ยม

๒.๕ การจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่องที่มีคุณภาพ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ มีการจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่องดังนี้

๑. มีการสำรวจความต้องการของชุมชนในการจัดการศึกษาต่อเนื่อง

๒. มีการจัดหาหลักสูตร และจัดทำหลักสูตรตามความต้องการเพื่อเสนอให้คณะกรรมการสถานศึกษาได้เห็นชอบทุกหลักสูตรและเสนอผู้บริหารอนุมัติทุกหลักสูตร

๓. มีการรับสมัครและคัดเลือกวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถตรงตามหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง

๔. วิทยากรจัดการศึกษาต่อเนื่องตามแผนการจัดการเรียนรู้ที่ได้กำหนดไว้

๕. มีการนิเทศติดตามผลการจัดการศึกษาต่อเนื่องจากคณะกรรมการนิเทศระดับสถานศึกษา

๖. มีการรายงานผลการจัดการศึกษาต่อเนื่องและติดตามผู้จบการศึกษาต่อเนื่อง

๗. มีการจัดกระบวนการเรียนรู้ต่อเนื่องที่มีคุณภาพโดยจัดทำหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องแสดงให้เห็นถึงแนวโน้มความยั่งยืนทั้งที่เป็นรายบุคคลหรือเป็นรายกลุ่ม

๑. หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง

๒. แบบประเมินความพึงพอใจ (กศ.ตน.๑๐)

๓.รายงานสรุปผลการศึกษาความพึงพอใจ

๔.รายงานสรุปผลการจัดการศึกษาต่อเนื่องของสถานศึกษา

๕. แบบติดตามผู้เรียนหลังจบการศึกษาต่อเนื่อง (กศ.ตน.๒๒)

๖. ข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ (DMIS)

๗. ภาพถ่ายการจัดกิจกรรมโครงการ และ รูปภาพการนำไปประกอบอาชีพ

ยอดเยี่ยม

รวมคะแนน

๗๐

๖๗.๐๐


จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง ใน

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง มีคะแนนรวมเท่ากับ ๔๗.๐๐ คะแนน อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม

มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง มีคะแนนรวมเท่ากับ ๒๐.๐๐ คะแนน อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม

ซึ่งจากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาต่อเนื่อง พบว่า สถานศึกษามีจุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา ดังนี้

จุดเด่น

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ มีการจัดการศึกษาต่อเนื่องในรูปแบบกลุ่มสนใจและชั้นเรียนวิชาชีพ ตั้งแต่ ๖ ชั่วโมงขึ้นไป ให้กับประชาชนทั่วไป มีหลักสูตรที่สถานศึกษาจัดหาหรือจัดทำตรงตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย โดยผู้ที่ผ่านการฝึกอบรมสามารถนำความรู้ไปประกอบอาชีพและรู้จักช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าผ่านระบบออนไลน์ มีการนำสินค้าไปจำหน่ายในงานเทศกาลต่าง ๆ ทำให้เกิดรายได้

มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ มีการจัดหาและจัดทำหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาและผู้บริหารอนุมัติให้ใช้หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง สถานศึกษามีการรับสมัครวิทยากรและคัดเลือกวิทยากรการศึกษาต่อเนื่องที่มีความรู้ความสามารถในการจัดการศึกษาต่อเนื่องให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย

จุดที่ควรพัฒนา

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ มีการจัดการศึกษาต่อเนื่องให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายในเขตพื้นที่อำเภอวังสามหมอ แต่สถานศึกษายังขาดช่องทางการขายผลิตภัณฑ์จากกลุ่ม ควรจัดจุดแสดงสินค้าและผลิตภัณฑ์ของกลุ่มการศึกษาต่อเนื่อง


ผลการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย (เฉพาะมาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย และมาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

มาตรฐาน/

ประเด็นการพิจารณา

ค่าน้ำหนัก

(คะแนน)

กระบวนการ/วิธีการดำเนินงาน

ของสถานศึกษา

ผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้น

และร่องรอย หลักฐานที่เกิดขึ้น

จากการดำเนินงานตามสภาพจริง

ผลการประเมินคุณภาพ






คะแนนที่ได้

ระดับคุณภาพ

มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพ

ของผู้รับบริการการศึกษา

ตามอัธยาศัย

๕๐

๑.๑ ผู้รับบริการมีความรู้

หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการหรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

๕๐

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้จัดการศึกษาตามอัธยาศัยในรูปแบบโครงการประกอบไปด้วย

๑. โครงการวันเด็กแห่งชาติ จำนวน ๑๐๐ คน

๒. โครงการห้องสมุดชาวตลาด จำนวน ๒๐๐ คน

๓. โครงการบรรณสัญจร รับบริจาคหนังสือ จำนวน ๖๐๐ เล่ม

๔. โครงการอำเภอยิ้มเคลื่อนที่ จำนวน ๑๐๐ คน

๕. โครงการบ้านหนังสือชุมชน จำนวน ๗๒ หมู่บ้าน

๖. โครงการจังหวัดเคลื่อนที่ จำนวน ๑๐๐ คน

๑. กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

๒. ข้อมูลผู้ใช้บริการ

๓. ชิ้นงาน หรือสมุดบันทึก

๔. รายงานผลการจัดกิจกรรม

๕. รูปภาพประกอบ

๔๕

ยอดเยี่ยม

มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพ

การจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

๒๐

๒.๑ การกำหนดโครงการ

หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้จัดโครงการการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๓ ดังนี้

๑. โครงการวันเด็กแห่งชาติ จำนวน ๑๐๐ คน

๒. โครงการห้องสมุดชาวตลาด จำนวน ๒๐๐ คน ๓. โครงการบรรณสัญจร รับบริจาคหนังสือ จำนวน ๖๐๐ เล่ม

๔. โครงการอำเภอยิ้มเคลื่อนที่ จำนวน ๑๐๐ คน

๕. โครงการบ้านหนังสือชุมชน จำนวน ๗๒ หมู่บ้าน

๖. โครงการจังหวัดเคลื่อนที่ จำนวน ๑๐๐ คน

โดยมุ่งเน้นพัฒนาห้องสมุดประชาชนให้เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต จัดหาหนังสือ สื่อการเรียนรู้ในรูปแบบต่างๆ ให้หลากหลาย ตรงต่อความต้องการของผู้ใช้บริการในระบบสแกนผ่านมือถือ ส่งเสริมการอ่านออนไลน์ เพื่อให้ประชาชนเพิ่มพูนเสริมสร้างศักยภาพให้กับตนเอง สะดวกรวดเร็ว

๑. บันทึกข้อความ คำสั่ง บันทึกหรือรายงานการประชุมที่เกี่ยวข้อง

๒. แบบสำรวจความต้องการสื่อ

๓. โครงการหรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

๔. สรุปรายงานรูปเล่ม

๕. รูปภาพประกอบ

ยอดเยี่ยม

๒.๒ ผู้จัดกิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ มีบรรณารักษ์ฯ ที่มีความรู้ความสามารถในการดำเนินงานด้านการศึกษาตามอัธยาศัย โดยบรรณารักษ์จะทำหน้าที่ดังต่อไปนี้

๑. ให้บริการยืม-คืนสื่อต่าง ๆ ภายในห้องสมุด

๒. จัดทำมุมต่าง ๆ ภายในห้องสมุดให้สะอาดสวยงาม

๓. มีการจัดทำแผนการดำเนินงานด้านการศึกษาตามอัธยาศัย

๔. มีการประสานงานภาคีเครือข่ายในการจัดการศึกษาตามอัธยาศัยในทุกตำบล

๕. กิจกรรมบ้านหนังสือชุมชน เพื่อหมุนเวียนเปลี่ยนสื่อในแต่ละตำบล ทั้ง ๖ ตำบล

๖. กิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่สำหรับชาวตลาด

๗. กิจกรรมออกหน่วยบริการห้องสมุดเคลื่อนที่ ตามโครงการอำเภอยิ้มเคลื่อนที่

๑. คำสั่งมอบหมายงาน

๒. โครงการต่าง ๆ

๓. หนังสือเชิญร่วมกิจกรรม

๔. แผนปฏิบัติการประจำปี

๕. รายงานสรุปผลโครงการ

๖. ภาพประกอบ

๗. ใบประกาศ เกียรติบัตร

ยอดเยี่ยม

๒.๓ สื่อ หรือนวัตกรรม และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้มีการจัดหาสื่อ หรือนวัตกรรม และสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการส่งเสริมความรู้ให้กับนักศึกษาในการจัดกระบวนการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดความรู้ ทักษะในการเรียนให้ผู้เรียนบรรลุตามวัตถุประสงค์ ดังนี้

๑. มีการจัดเตรียมความพร้อมของสถานที่ ที่เอื้อต่อการเรียนรู้

๒. มีการพัฒนาสื่อการส่งเสริมการอ่านโดยการสร้างคิวอาโค๊ต เพื่อให้ผู้สนใจได้เข้าศึกษา

๓. มีการจัดนิทรรศการ เพื่อส่งเสริมกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

๔. พัฒนาและส่งเสริมแหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อให้ผู้เรียนได้เข้าใช้ บริการ

๕. ครูมีการประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม เพื่อนำไปปรับปรุงและพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ในอนาคต

๖. สถานศึกษามีการนำผลการประเมินความพึงพอใจไปใช้ในการพัฒนาหรือจัดหาสื่อ แหล่งเรียนรู้หรือภูมิปัญญาท้องถิ่นให้กับผู้รับบริการ

๑. แบบบันทึกคำสั่ง

๒. สรุปรายงาน ทำเนียบสื่อ แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่นของแต่ละตำบล

๓. ข้อมูลการประเมินความพึงพอใจเกี่ยวกับสื่อ แหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญา

๔. โครงการ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

๕. สื่อและนวัตกรรม รายงานการศึกษาตามอัธยาศัย

ยอดเยี่ยม

๒.๔ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจ

ต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้ดำเนินการจัดทำแบบสอบความพึงพอใจของผู้รับบริการมีความ

พึงพอใจต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ที่มีต่อกระบวนการจัดโครงการกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา

๑.แผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา

๒.โครงการ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

๓.เครื่องมือ หรือแบบสอบถามความพึงพอใจ

๔.รายงานสรุปผลการประเมินความพึงพอใจในแต่ละโครงการ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา๕.อื่นๆ

๔.๘๐

ยอดเยี่ยม

รวมคะแนน

๗๐

๖๔.๘๐


จากการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามอัธยาศัย ในมาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย มีคะแนนรวมเท่ากับ ๔๕ คะแนน อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม และในมาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย มีคะแนนรวมเท่ากับ ๑๙.๘๐ คะแนน อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม

ซึ่งจากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามอัธยาศัย พบว่า สถานศึกษามีจุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา ดังนี้

จุดเด่น

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ มีห้องสมุดประชาชนที่เป็นเอกเทศ มีความสะอาด เรียบร้อย มีสถานที่ที่เหมาะกับการจัดการศึกษาให้กับประชาชน บรรณารักษ์มีอัธยาศัยที่ดีกับผู้มาใช้บริการ มีมุมต่าง ๆ ภายในห้องสมุด มีการหมุนเวียนสื่อไปยังบ้านหนังสือชุมชน มีภาคีเครือข่ายที่ร่วมจัดการศึกษาตามอัธยาศัยที่เป็นบ้านหนังสือชุมชน มีแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย

จุดที่ควรพัฒนา

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ควรมีการจัดหาสื่อทางด้านคอมพิวเตอร์ไว้คอยให้บริการประชาชน จัดมุมผักผ่อนทั้งภายในและภายนอกห้องสมุดประชาชน


ผลการประเมินคุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา (มาตรฐานที่ ๓ ซึ่งเป็นมาตรฐานการศึกษา ที่สามารถใช้ผลการประเมินคุณภาพร่วมกันได้

ทั้งการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาต่อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย)

มาตรฐาน/

ประเด็นการพิจารณา

ค่าน้ำหนัก

(คะแนน)

กระบวนการ/วิธีการดำเนินงาน

ของสถานศึกษา

ผลการดำเนินงานที่เกิดขึ้น

และร่องรอย หลักฐานที่เกิดขึ้น

จากการดำเนินงานตามสภาพจริง

ผลการประเมินคุณภาพ






คะแนนที่ได้

ระดับคุณภาพ

มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพ

การบริหารจัดการของสถานศึกษา

๓๐

๓.๑ การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ เน้นการบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมให้การบริหารงาน มีการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) และใช้กระบวนการ PDCA ในการดำเนินงานดังนี้

๑. เปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนร่วมได้เข้ามามีส่วนในการคิดตัดสินใจ ร่วมวางแผน ร่วมทำงาน ให้เกิดความรู้สึกผูกพัน ผูกมัดและตกลงใจร่วมกันในการบริหารสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมาย

๒. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อเป็นที่ปรึกษาหารือในการดำเนินงาน ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมทำงานและร่วมภาคภูมิใจในความสำเร็จ

๓. มีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา ข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา เพื่อเสนอและรับฟังแนวคิดการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ อัตลักษณ์ ของสถานศึกษา

๔. แต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ

๕. มีการประชุมชี้แจงคณะกรรมกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา แผนปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา

๕. คณะกรรมการสถานศึกษามีการวิเคราะห์เนื้อหาสาระสำคัญที่จะกำหนดโครงสร้างของมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา โดยมีการใช้ข้อมูลความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น หรือผู้รับบริการ อัตลักษณ์ของสถานศึกษาในการจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา

๗. สถานศึกษามีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปี โดยได้มีการวิเคราะห์สภาพปัญหา ข้อเสนอแนะ จากการดำเนินงานที่ผ่านมา โดยรับคำแนะนำและได้รับการเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษา

๑. รายงานการประชุม

๒. คำสั่งแต่งตั้งมอบหมายการปฏิบัติงานประจำปี

๓. ข้อมูลพื้นฐาน ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น หรือผู้เรียน

๔. เป้าหมายการจัดการศึกษา วิสัยทัศน์ พันธกิจ และอัตลักษณ์ของสถานศึกษา

๕. มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

๖. แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

๗. แผนการปฏิบัติการประจำปีของสถานศึกษา

ยอดเยี่ยม

๓.๒ ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

สถานศึกษามีการประเมินผลและการติดตามตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถาบันการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PDCA (Plan-Do-Check-Act) ในการดำเนินงานดังนี้

๑. สถานศึกษามีการแต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อเป็นที่ปรึกษาหารือในการดำเนินงาน

๒. สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

๓. สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการนิเทศ ติดตามผล ตรวจสอบคุณภาพการดำเนินงานด้านการศึกษาเพื่อตรวจสอบวิธีการดำเนินงาน ประเมินผลสัมฤทธิ์ที่เกิดขึ้นต่อผู้เรียนให้บรรลุตามวัตถุประสงค์

๔. หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาที่ต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่อง

๕. สถานศึกษาแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)

๖. สถานศึกษามีการจัดทำคำสั่งมอบหมายการปฏิบัติงานเป็นประจำในทุกปีงบประมาณ

๗. มีการประชุม เพื่อร่วมกันกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ของสถานศึกษาที่จะต้องดำเนินการในแต่ละปีงบประมาณ มีการวิเคราะห์ SWOT ของสถานศึกษา

๘. มีการมอบหมายให้บุคลากรเข้าร่วมประชุมชี้แจงแนวทางการประเมินคุณภาพทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ

๙. สถานศึกษามีการจัดระบบบริหารและสารสนเทศของสถานศึกษาในการบริหารจัดการตามภารงานในด้าน

๑. งานวิชาการ

๒. งานบุคลากร

๓. งานบริหารทั่วไป

๔. งานการเงิน

๕. งานชุมชน

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทำงานที่รวดเร็ว ถูกต้อง

๑. บันทึกข้อความ คำสั่ง หรือรายงานวาระการประชุม

๒. มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

๓. แผนพัฒนาการจัดการศึกษาหรือแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา

๔. แผนปฏิบัติการประจำปี

๕. รายงานผลการดำเนินงานในแต่ละโครงการ รายงานผลการดำเนินงานประจำปี

๖. รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา

๗. ระบบบริหารและสารสนเทศของสถานศึกษา

ยอดเยี่ยม

๓.๓ การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษา

สถานศึกษามีการจัดมอบหมายให้บุคลากรในสังกัด กศน.อำเภอวังสามหมอ เข้ารับการพัฒนาในหลาย ๆ ประกอบด้วย

๑. บุคลากรเข้าร่วมการประชุมชี้แจงแนวทางการประเมินคุณภาพทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ที่จัดโดยสำนักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี ในระหว่างวันที่ ๒๔-๒๕ กันยายน ๒๕๖๓

๒. มีการนำบุคลากร กศน.อำเภอวังสามหมอ เข้าร่วมแข่งขันมหกรรมกีฬา กศน.เกมส์ ในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ ทั้งในระดับจังหวัด ระดับกลุ่มโซน ระดับภาคและระดับประเทศ เพื่อเป็นการส่งเสริมให้บุคลากรในสังกัดได้รับการพัฒนาทางด้านร่างกาย ให้มีน้ำใจนักกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย และนำประสบการณ์จากการเข้าร่วมการแข่งขันกีฬาในระดับต่าง ๆ มาพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ดียิ่งขึ้น

๓. มีการมอบหมายบุคลากรเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการการคัดข้อสอบรายวิชาเลือกเสรี ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๓ เพื่อให้ได้ข้อสอบที่มีมาตรฐานทั่วจังหวัดอุดรธานี และบุคลากรที่เข้ารับการอบรมสามารถนำความรู้ที่ได้มาถ่ายทอดให้กับบุคลากรที่ไม่ได้เข้าร่วมฝึกอบรมเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนให้ดียิ่งขึ้น

๔. มีการมอบหมายให้บุคลากรเข้าร่วมฝึกอบรมโครงการพัฒนาบุคลากร เรื่องการดำเนินงานตามนโยบาย กศน.WOW ด้านนวัตกรรมทางการศึกษา ที่จัดโดยสำนักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี ทำให้บุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรมได้รับความรู้มีทักษะเพิ่มขึ้น และสามารถนำนโยบาย กศน. WOW สู่การปฏิบัติทำให้งานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามที่สถานศึกษาได้กำหนดไว้

๕. มีการจัดอบรมให้บุคลากรในการจัดทำ Google Classroom เพื่อใช้ในการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) ทำให้บุคลากรสามารถนำความรู้ที่ได้รับการฝึกอบรมสามารถสร้างห้องเรียนออนไลน์ครบทุกคน และมีการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีด้านอื่น ๆ มาใช้ในการจัดการเรียนการสอน

๑. โครงการต่าง ๆ

๒. ภาพถ่าย

๓. คำสั่ง

๔. สรุปผลและรายงานผล

จากการที่สถานศึกษาได้มีการมอบหมายให้บุคลากรที่เข้าร่วมการฝึกอบรมในโครงการต่าง ๆ ทำให้บุคลากรมีความรู้ ความเข้าใจในงานและเข้าใจในบทบาทหน้าที่ที่รับได้มอบหมาย สามารถนำความรู้ที่ได้รับมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานจนได้รับรางวัล เช่น กศน.ตำบลวังสามหมอ ได้รับคัดเลือกเป็น กศน.ต้นแบบ ๕ดี พรีเมี่ยม ลำดับที่ ๕ ระดับภาคตะวันออกเฉียงเหนือ นายณัฐพงศ์ โสภิณ ข้าราชการครู ได้รับคัดเลือกเป็น “ครูและบุคลากรทางการศึกษาผู้มีผลงานดีเด่น” เนื่องในโอกาสวันครู ๑๖ มกราคม ๒๕๖๓ เป็นต้น

ยอดเยี่ยม

๓.๔ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัล

เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้มีการดำเนินงานโดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการระบบการทำงานที่รวดเร็ว ถูกต้อง และเป็นปัจจุบัน ที่ครอบคลุมภารกิจ ๔ ด้าน ประกอบด้วย

๑.การบริหารงานวิชาการ

๒. การบริหารงานงบประมาณ

๓. การบริหารงานบุคคล

๔. การบริหารงานทั่วไป รวมทั้งงานสนับสนุนงานด้านอื่นๆ ดังนี้

๑. ระบบรับ-ส่งหนังสือราชการ (e-office)

๒. ระบบบริหารงานงบประมาณ

(e-budget๖๓)

๓. ระบบพิมพ์สลิปเงินเดือนออนไลน์ (e-salary)

๔. ระบบงานสารบรรณ (sarabun)

๕. ระบบสำหรับการลงทะเบียนนักศึกษา (ITw51)

๖. สถานศึกษาได้ใช้แอพิเคชั่น Line, Face book, และสร้าง Website ในการสร้างกลุ่มเพื่อการสื่อสาร รับ-ส่ง เผยแพร่ข้อมูลในด้านการบริหารจัดการ การปฏิบัติงาน ประหยัด และรวดเร็ว ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

๑.บันทึกข้อความ คำสั่ง บันทึกหรือรายงานการประชุมที่เกี่ยวข้อง

๒.ข้อมูลสารสนเทศด้านการบริหารวิชาการ การบริหารงานงบประมาณ การบริหารงานบุคคล และการบริหารงานทั่วไป

๓.เทคโนโลยีที่นำมาใช้ในการจัดทำระบบข้อมูลสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการ

๔.โปรแกรมสำเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์ เช่น ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ (DMIS) เป็นต้น

ยอดเยี่ยม

๓.๕ การกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงาน

ของสถานศึกษา

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้มีการวางแผนปฏิบัติงานดังนี้

๑. สถานศึกษาออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการ กำกับ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานการจัดการศึกษาตามภารกิจที่สอดคล้องกับแผนที่กำหนดของสถานศึกษา

๒. สถานศึกษาดำเนินการวางแผนขั้นตอนการนิเทศโดยกำหนดจุดมุ่งหมายของการนิเทศ จัดทำแผน กำหนดเนื้อหาการนิเทศ ออกแบบการนิเทศ สื่อนิเทศ จัดเตรียมเครื่องมือ กำหนดกรอบการประเมิน วิธีการติดตามและการรายงานผลการนิเทศ เพื่อเสนออนุมัติ

๓. สถานศึกษาดำเนินการตามแผนนิเทศ โดยประชุมเพื่อทบทวนจุดมุ่งหมายการนิเทศ แบ่งหน้าที่ในการนิเทศ ประสานงานบุคคลที่เกี่ยวข้อง และนิเทศตามแผนด้วยรูปแบบ เทคนิค วิธีการที่กำหนด

๔. คณะนิเทศดำเนินการตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นไปตามจุดมุ่งหมายหรือไม่

๕. คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล รวบรวมข้อมูลพร้อมทำรายงานเสนอผลการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลกิจกรรมต่อผู้บังคับบัญชา เพื่อนำข้อมูลดังกล่าวไปพัฒนากระบวนการด้านการดำเนินงานของสถานศึกษาให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลต่อไป

๑. คำสั่ง รายงานการประชุมที่เกี่ยวข้อง

๒. แผนการกำกับ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา

๓. รายงานผลการกำกับ นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการการดำเนินงานของสถานศึกษา

๔. แบบนิเทศตรวจเยี่ยม

๕. รูปภาพประกอบ

ยอดเยี่ยม

๓.๖ การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาที่เป็นไปตามบทบาทที่กำหนด

การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาที่เป็นไปตามบทบาทที่กำหนด โดยศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้มีการดำเนินการดังนี้

๑. สถานศึกษาออกคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษา

๒. สถานศึกษามีการจัดประชุมชี้แจงบทบาทหน้าที่ วาระ การปฏิบัติงานของคณะกรรมการสถานศึกษาในการให้คำปรึกษา และพิจารณาให้ข้อเสนอแนะแผนพัฒนา แผนปฏิบัติการประจำปี และให้ความเห็นชอบหลักสูตรของสถานศึกษา

๓. คณะกรรมการสถานศึกษามีการให้ความเห็นสชอบหลักสูตรสถานศึกษา

๔. คณะกรรมการสถานศึกษามีส่วนร่วมกับการจัดกิจกรรมของสถานศึกษา และให้คำเสนอแนะ ติดตามผลด้านผลการดำเนินงานของสถานศึกษา พร้อมเสนอแนะผลการดำเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยของสถานศึกษา

๑. บันทึกการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา

๒. คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการสถานศึกษา

๓. หลักสูตรสถานศึกษา

๔. แผนพัฒนาการจัดการศึกษา

๕. แผนปฏิบัติการประจำปี

๒.๔

ดีเลิศ

๓.๗ การส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ มีการดำเนินงานด้านการส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาดังนี้

๑. สถานศึกษา สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับพันธกิจ และบทบาทหน้าที่ของสถานศึกษา ให้แก่ภาคีเครือข่ายได้รับทราบ โดยผ่านเวทีประชาคม การประชุมหัวหน้าส่วน การประชุมสัญจร

๒. สถานศึกษาดำเนินจัดทำบันทึกข้อตกลงความร่วมมือ(MOU ) กับภาคีเครือข่ายในการจัดกิจกรรม กศน. สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับพันธกิจ และบทบาทหน้าที่ของ ส่งเสริม สนับสนุนและประสานภาคีเครือข่ายเข้ามาร่วมจัดกิจกรรมเพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้แต่ละประเภทให้มีความหลากหลายทุกตำบล เพื่อให้นักศึกษา กศน.และประชาชนได้ศึกษาเรียนรู้

๓. กศน.อำเภอวังสามหมอ ได้ขอความอนุเคราะห์วิทยากรจากโรงเรียนภาคีเครือข่ายในการจัดโครงการค่ายพัฒนาผู้เรียนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ในรายวิชาพื้นฐาน

๔. มีการขอความอนุเคราะห์ให้ใช้สถานที่ในการดำเนินการจัดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ปลายภาคเรียนทั้ง ๓ สนาม ประกอบไปด้วย สนามสอบโรงเรียนอนุบาลวังสามหมอ สนามสอบโรงเรียนบ้านหนองกุงทับม้า และสนามสอบบ้านคำยาง

๕. ศูนย์ส่งเสริมประชาธิปไตยตำบล(ศส.ปชต.) ในการดำเนินงานขับเคลื่อน โดยร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการเลือกตั้งประจำจังหวัดอุดรธานี เช่น การให้ความรู้คณะกรรมการ ศสปชต. และให้ความรู้กับประชาชนในเรื่องเกี่ยวกับประชาธิปไตยและการเลือกตั้งทั้งในระดับชาติ และระดับท้องถิ่น

๖. ศูนย์ติจิทัลชุมชน ได้ส่งเสริมสนับสนุน การดำเนินงานร่วมกับ สำนักงานสถิติจังหวัดอุดรธานี ในการเก็บข้อมูลการใช้น้ำในจังหวัดอุดรธานี และบริษัททีโอ มามีส่วนร่วมขับเคลื่อนการดำเนินงาน เช่น การอบรมการสร้างการรับรู้และการใช้ประโยชน์จากเน็ตประชารัฐ รวมทั้งการสำรวจข้อมูลการใช้เน็ตประชารัฐ เป็นต้น

๑. บันทึกข้อตกลงความร่วมมือ (MOU)

๒. หนังสือเชิญวิทยากร

๓. หนังสือขอใช้สนามสอบปลายภาค ทั้ง ๓ สนาม

๔. หนังสือขอบคุณภาคีเครือข่ายร่วมจัดกิจกรรม

๕. บัญชีรายชื่อภาคีเครือข่าย

๖. สรุปโครงการที่ร่วมจัดกิจกรรมกับภาคีเครือข่าย

๗. ภาพถ่ายกิจกรรมที่จัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย

ยอดเยี่ยม

๓.๘ การส่งเสริม สนับสนุน

การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ มุ่งส่งเสริม สนับสนุน การสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้ให้เกิดขึ้นกับนักศึกษาและประชาชนทุกกลุ่มให้ได้เข้าถึงสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีด้านการส่งเสริมการอ่าน ดังนี้

๑. มีการกำหนดและดำเนินงานตามแผนงาน กิจกรรม/โครงการ ในการส่งเสริม สนับสนุนการสร้างสังคมแห่งการอ่าน ประกอบด้วย

๑.๑. กิจกรรมห้องสมุดเคลื่อนที่ชาวตลาด

๑.๒ บรรณสัญจร

๑.๓ บ้านหนังสือชุมชน หมุนเวียนเปลี่ยนสื่อในแต่ละตำบล

๑.๔ การให้บริการ บริการยืม – คืนหนังสือ

๑.๕ บริการหนังสือพิมพ์

๒. สถานศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ภายในชุมชน มีการถ่ายทอดองค์ความรู้ที่อยู่ภายในพื้นที่ ซึ่งกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เข้าถึงแหล่งเรียนรู้ในชุมชน โดยมีการจัดทำทำเนียบแหล่งเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนได้ทราบ

๓. มีการสรุปรายงานผลการใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา

๔. มีการดำเนินการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงาน เพื่อนำผลไปปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

๑. แผนงาน

๒. โครงการ

๓. ทำเนียบแหล่งเรียนรู้

๔. ข้อมูลหรือรายงานผล การติดตาม และประเมินผลการใช้แหล่งเรียนรู้

๕. สมุดเยี่ยมแหล่งเรียนรู้

๖. เกียรติบัตร รางวัลที่เกี่ยวข้อง

ดีเลิศ

๓.๙ การวิจัยเพื่อการบริหาร

จัดการศึกษาสถานศึกษา

การจัดทำการวิจัยเพื่อการบริหารจัดการศึกษาสถานศึกษา ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ นำโดยผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรของสถานศึกษามีการจัดทำงานวิจัยอย่างง่ายที่เกี่ยวข้อง กับการบริหารจัดการขอสถานศึกษาในด้านวิชาการ ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารงานบุคคล และด้านการบริหารงานทั่วไป .ในแต่ละปีงบประมาณ โดยการมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถานศึกษา ที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ปัญหา หรือความต้องการของสถานศึกษา โดยสถานศึกษากำหนดการดำเนินงาน ดังต่อไปนี้

๑. มีการกำหนดประเด็นการวิจัยที่สอดคล้องกับสถานการณ์ ปัญหาหรือความต้องการของสถานศึกษา

๒. มีการกำหนดแผนหรือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของสถานศึกษา

๓. มีการดำเนินงานวิจัยอย่างง่าย

๔. มีรายงานผลการวิจัย

๕. มีการเสนอผลงานวิจัยต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หรือเผยแพร่

๖. มีการนำผลการวิจัยไปใช้ในการปรับปรุงหรือพัฒนางานของสถานศึกษา

๑.บันทึกข้อความ คำสั่ง บันทึกหรือรายงานการประชุมที่เกี่ยวข้อง

๒.แผนหรือแนวทางการดำเนินงานวิจัยของสถานศึกษา

๓.รายงานการวิจัย

๒.๗๐

ยอดเยี่ยม

รวมคะแนน

๓๐

๒๘.๑๐

ยอดเยี่ยม


จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา ในมาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม มีคะแนนรวมเท่ากับ ๒๘.๑๐ คะแนน

ซึ่งจากผลการประเมินคุณภาพในมาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา พบว่า สถานศึกษามีจุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนา ดังนี้

จุดเด่น

ผู้บริหาร บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล และปกครองแบบพี่ปกครองน้อง ทำให้ได้รับความไว้วางใจและความศรัทธาจากครู ส่งผลให้การดำเนินงานราบรื่น ไม่มีข้อขัดข้อง เกิดการรับฟังความคิดเป็นซึ่งกันและกัน มีการพัฒนางานไปข้างหน้าอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล และมีระบบการประกันคุณภาพและการดำเนินงานตามวงจร PDCA อย่างครบถ้วน ชุมชน ภาคีเครือข่ายให้ความร่วมมือในการการกิจกรรมทุกกิจกรรมของ กศน.อำเภอวังสามหมอเป็นอย่างดี ผู้บริหารมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล ยึดเอาบริบทของชุมชนเป็นที่ตั้ง มีการทำงานเป็นทีม มีการเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีการเสียสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อประโยชน์ส่วนรวม มีการทำงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์

จุดที่ควรพัฒนา

คณะครู กศน. ยังขาดทักษะในด้านงานวิชาการ มักจะเน้นการปฏิบัติจริง ทำให้ในการบริหารจัดการในด้านข้อมูลยังไม่สมบูรณ์เท่าที่ควร ควรมีการจัดทำระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการโดยใช้ Digital Platform เข้ามาใช้ในการดำเนินงานของสถานศึกษา ควรจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศให้เป็นปัจจุบัน และควรมีการอบรมและพัฒนาบุคลากรในการเขียนรายงานและการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน


บทที่ ๓

สรุปผลการประเมินตนเอง และแนวทางการพัฒนาคุณภาพของสถานศึกษา

จากผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปผลการประเมินตนเองในภาพรวมของสถานศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ดังนี้

มาตรฐานการศึกษา

แต่ละประเภท

คะแนนจากผลการประเมินคุณภาพ



รวม

คะแนนที่ได้

ระดับ

คุณภาพ


ด้านที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน

ด้านที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษา

ด้านที่ ๓ คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา



คะแนนเต็ม

๕๐ คะแนน

๒๐ คะแนน

๓๐ คะแนน

๑๐๐ คะแนน


มาตรฐานการศึกษา

นอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

๔๕.๒๐

๑๗.๐๐

๒๘.๑๐

๙๐.๓๐

ยอดเยี่ยม

มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง

๔๗.๐๐

๒๐.๐๐

๒๘.๑๐

๙๕.๑๐

ยอดเยี่ยม

มาตรฐานการศึกษา

ตามอัธยาศัย

๔๕.๐๐

๑๙.๘๐

๒๘.๑๐

๙๒.๙๐

ยอดเยี่ยม

คะแนนเฉลี่ย จากผลการประเมินตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา




๙๒.๗๗

ยอดเยี่ยม

หมายเหตุ

สำหรับคะแนนที่จะกรอกลงในช่อง “คะแนนผลการประเมินคุณภาพ ด้านที่ ๓ คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษาให้นำคะแนนจากผลการประเมินคุณภาพด้านการบริหารจัดการของสถานศึกษา ที่ประเมินไว้ในบทที่ ๒ ไปใส่ในช่อง “คะแนนผลการประเมินคุณภาพ ด้านที่ ๓ คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา” ในมาตรฐานการศึกษาแต่ละประเภท (ใช้คะแนนเดียวกัน) เนื่องจากเป็นมาตรฐานที่ใช้ประเด็นการพิจารณาร่วมกันในทุกประเภทการศึกษา






ทั้งนี้ จากการสรุปผลการประเมินคุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา เมื่อนำคะแนนเฉลี่ยจากทุกมาตรฐานที่ได้ในภาพรวม ไปเทียบกับเกณฑ์ระดับคุณภาพ พบว่า สถานศึกษามีผลการประเมินตนเองในภาพรวม อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม มีคะแนนรวมเท่ากับ ๙๒.๗๗ คะแนน และเมื่อพิจารณาผล การประเมินตนเองตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละประเภท สามารถสรุปผลการประเมินตนเอง ได้ดังนี้

สรุปผลการประเมินตนเอง ประเภทการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ระดับคุณภาพจากผลการประเมินคุณภาพ

จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปได้ว่า สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา

นอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม

ผลการดำเนินงาน ร่องรอย และหลักฐานที่สนับสนุนผลการประเมินคุณภาพ

สถานศึกษามีการดำเนินการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานให้กับผู้เรียนในหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในปีงบประมาณ ๒๕๖๔ ซึ่งอยู่ในช่วงของสถานการณ์ของการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) โดยสถานศึกษามีการพัฒนาศักยภาพครูให้สามารถนำเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษา มีการใช้โปรแกรม Google Class Room มาใช้ มีการจัดกิจกรรมการแข่งขันกีฬา กศน.เกมส์ เพื่อให้นักศึกษาได้แสดงออกถึงความสามารถด้านกีฬา รู้แพ้ รู้ชนะ รู้อภัย และรู้จักเพื่อนต่างสถานศึกษา มีการจัดกิจกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรม และประเพณีอันดีงาม เพื่อให้นักศึกษาได้นำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน มีการจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนเพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้กับนักศึกษาเพื่อเตรียมพร้อมในการสอบวัดความรู้ระดับชาติด้านการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-NET) และการสอบวัดผลปลายภาคเรียน มีการจัดกิจกรรมโครงการค่ายอาสายุวกาชาด เพื่อให้นักศึกษาได้นำความรู้ไปช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์และได้รู้จักการรักษาพยาบาลเบื้องต้นในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉิน มีการจัดกิจกรรมการแข่งขันทักษะวิชาการ เพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาเกิดการคิด วิเคราะห์ เป็นต้น

แนวทางการพัฒนาคุณภาพ

สถานศึกษาควรจัดอบรมพัฒนาบุคลากร กศน.อำเภอวังสามหมอ ให้มีความรู้ความสามารถงานเชิงวิชาการ ประกอบไปด้วย การจัดทำแผน การพัฒนาสื่อนวัตกรรมการเรียนการสอน เพื่อใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอน การจัดทำสื่อการเรียนการสอนด้านดิจิทัล การจัดทำฐานข้อมูลของนักเรียนรายบุคคลเพื่อใช้ประกอบในการออกติดตามเยี่ยมบ้าน แนะแนว และเห็นสภาพความเป็นอยู่ของนักศึกษา ได้สร้างปฏิสัมพันธ์กับผู้ปกครอง มีการวางแผนในด้านการเรียนการสอนให้นักศึกษาสำเร็จตามโครงการสร้างของหลักสูตร

ความต้องการการส่งเสริม สนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัด

ต้นสังกัดควรจัดโครงการอบรมพัฒนาครู กศน. ในด้านการจัดทำสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีดิจิทัลให้มีความหลากหลายเพื่อใช้ประกอบการจัดทำสื่อให้มีความสอดคล้องกับผู้เรียนของ กศน. ทั้ง ๓ ระดับ เพื่อให้เข้าสู่สังคมในยุค NEW NORMAL เพื่อให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงในทศวรรษที่ ๒๑

สรุปผลการประเมินตนเอง ประเภทการศึกษาต่อเนื่อง

ระดับคุณภาพจากผลการประเมินคุณภาพ

จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปได้ว่า สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม

ผลการดำเนินงาน ร่องรอย และหลักฐานที่สนับสนุนผลการประเมินคุณภาพ

สถานศึกษามีการประชุมวางแผน นำนโยบายและจุดเน้นของสำนักงาน กศน. มาใช้ประกอบเพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ พันธกิจ อัตลักษณ์ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา แผนพัฒนาการจัดการศึกษา (พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๖๔) และแผนปฏิบัติการประจำปี พ.ศ. ๒๕๖๔ ที่สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น และสอดคล้องตามนโยบายของหน่วยงานต้นสังกัด ที่เน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรในสถานศึกษา ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการ พนักงานราชการ ลูกจ้าง และคณะกรรมการสถานศึกษา ซึ่งได้มีการประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา เพื่อพิจารณาและให้ข้อเสนอแนะก่อนที่จะนำไปใช้ต่อไป ทั้งนี้ ในการดำเนินงานต่าง ๆ ภายในสถานศึกษา สถานศึกษาสามารถดำเนินงานได้เป็นไปตามแผนปฏิบัติงานประจำปีที่กำหนดไว้ โดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย และจัดให้มีการกำกับ ติดตาม และประเมินผลการดำเนินงานภายในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง สำหรับการจัดการศึกษาต่อเนื่อง นั้น สถานศึกษามีการจัดหา และพัฒนาหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่มีความหลากหลายเป็นไปตามบริบท และความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งสถานศึกษามีการจัดหลักสูตรกลุ่มสนใจ ๕ ชั่วโมง จำนวน ๕๒ กลุ่ม จำนวน ๗๖๐ คน เช่น หลักสูตรการทำพรมเช็ดเท้า หลักสูตรการทำลูกประคบ หลักสูตรการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากสมุนไพร หลักสูตรการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ หลักสูตรการทำขนมไทย หลักสูตรการชงชา หลักสูตรการทำขนมกรอบเค็ม เป็นต้นและดำเนินการจัดหลักสูตรชั้นเรียนวิชาชีพ ๔๐ ชั่วโมง จำนวน ๒๒ กลุ่ม จำนวน ๓๘๖ คน เช่น หลักสูตรการทอผ้าพื้นเมือง หลักสูตรการทำจักสารจากไม้ไผ่ หลักสูตรการทำพรมเช็ดเท้า หลักสูตรการแปรรูปผักและผลไม้ หลักสูตรการสานตะกร้าจากเส้นพลาสติก เป็นต้น ซึ่งสถานศึกษาสามารถนำหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องแต่ละหลักสูตรไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ให้แก่กลุ่มเป้าหมายได้ โดยใช้วิทยากรหรือผู้จัดการเรียนรู้ที่มีความรู้ ความสามารถตรงตามหลักสูตร และสามารถจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตามแผนการจัดการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม และจัดให้มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ที่สอดคล้องตามวัตถุประสงค์ของแต่ละหลักสูตร ส่งผลให้ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องจบการศึกษาตามหลักสูตรในแต่ละหลักสูตร ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของจำนวนผู้เรียน ซึ่งสถานศึกษาได้จัดให้มีการติดตามผู้จบการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องในบางหลักสูตรเท่านั้น และมีผู้จบการศึกษาต่อเนื่องบางส่วนเท่านั้นที่มีการนำความรู้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้

แนวทางการพัฒนาคุณภาพ

สถานศึกษามีการจัดหา หรือพัฒนาหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องให้มีความหลากหลายตรงตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย และมีการพัฒนาหลักสูตรที่ได้ดำเนินการมาแล้วให้มีความทันสมัยมากยิ่งขึ้น ควรมีการจัดหลักสูตรในการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้มีความน่าสนใจ เพื่อเพิ่มมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์ของศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนมีมูลค่าที่สูงขึ้น พร้อมเทคนิคการขายผลิตภัณฑ์

ความต้องการการส่งเสริม สนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัด

หน่วยงานต้นสังกัดควรส่งเสริมและสนับสนุนในการจัดฝึกอบรมให้กับคณะครู กศน. ในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเข้ามาใช้ในการบริหารจัดการการศึกษาต่อเนื่อง เพื่อให้บุคลากรได้นำความรู้มาต่อยอดให้กับประชาชนกลุ่มเป้าหมายให้มีความรู้และพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความน่าสนใจ หน่วยงานต้นสังกัดควรมีการจัดสรรงบประมาณด้านศูนย์ฝึกอาชีพให้กับสถานศึกษาทุกแห่งเพิ่มมากขึ้น เพื่อให้ประชาชนได้เข้ารับการฝึกอบรมในหลักสูตรที่หลากหลายตามความต้องการ

สรุปผลการประเมินตนเอง ประเภทการศึกษาตามอัธยาศัย

ระดับคุณภาพจากผลการประเมินคุณภาพ

จากการประเมินตนเองของสถานศึกษา สามารถสรุปได้ว่า สถานศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา ตามอัธยาศัย อยู่ในระดับ ยอดเยี่ยม

ผลการดำเนินงาน ร่องรอย และหลักฐานที่สนับสนุนผลการประเมินคุณภาพ

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้จัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัยให้กับประชาชนในเขตพื้นที่อำเภอวังสามหมอในปีงบประมาณ ๒๕๖๔ หลากหลายกิจกรรมอันประกอบไปด้วย มีการร่วมมือกับภาคีเครือข่ายในการจัดกิจกรรมส่งเสริมการอ่านผ่านบ้านหนังสือชุมชน มีการจัดโครงการห้องสมุดชาวตลาดเพื่อส่งเสริมให้ผู้ค้าขายได้ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ในการอ่านหนังสือ มีการจัดบรรยากาศภายในและภายนอกห้องสมุดที่เอื้อต่อการเรียนรู้และการสร้างประสบการณ์ใหม่ ๆ มีมุมต่าง ๆ เช่น มุมนั่งเล่น มุมสืบค้นข้อมูล มุมตำนานวังสามหมอ มุมเฉลิมพระเกียรติ เป็นต้น มีการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม การส่งเสริมการอ่านให้มีความหลากหลาย ทั้งการอ่านผ่านการสแกนคิวอาร์โค๊ด เพื่อให้ผู้รับบริการได้เลือกใช้สื่อที่มีความหลากหลายและทันสมัยยิ่งขึ้น

แนวทางการพัฒนาคุณภาพ

ห้องสมุดประชาชนควรพัฒนาในด้านกายภาพทั้งภายนอกและภายใน ปรับปรุงภูมิทัศน์ภายนอกให้มีบรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้ มีการปรับปรุงสนามเด็กเล่นให้มีความสวยงามและมีการจัดหาสื่อการเรียนรู้ใหม่ ๆ ให้เข้ากับยุคสมัย มีการจัดหาคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการสืบค้นข้อมูลต่าง ๆ มีการส่งเสริมให้บรรณารักษ์ฯ ได้มีการเข้ารับการฝึกอบรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกับบรรณารักษ์ฯ ห้องสมุดอำเภออื่น ๆ

ความต้องการการส่งเสริม สนับสนุนจากหน่วยงานต้นสังกัด

หน่วยงานต้นสังกัดควรมีการส่งเสริมสนับสนุนให้มีการพัฒนาความรู้ให้กับบรรณารักษ์ในด้านการพัฒนาสื่อ นวัตกรรม และเทคโนโลยีใหม่ๆ เพื่อให้การส่งเสริมการอ่านมีความน่าสนใจสามารถเข้าถึงผู้เรียนและประชาชนได้ทุกเพศทุกวัย มีการจัดแสดงนิทรรศการด้านการส่งเสริมการอ่านเมื่อมีการฝึกอบรมในระดับจังหวัด เพื่อให้บรรณารักษ์ได้ช้อปปิ้งไอเดียในด้านการดำเนินงานของแต่ละอำเภอ เพื่อนำมาพัฒนา ปรับปรุงห้องสมุดประชาชนอำเภอต่อไป

ภาคผนวก

ค่าเป้าหมายของสถานศึกษาเพื่อใช้ในการประเมินคุณภาพการศึกษา

ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

ตามที่ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ ได้กำหนด และประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาตามประกาศศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอโนนสะอาด เรื่อง การใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา ลงวันที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๓ เพื่อใช้ในการเทียบเคียง ตรวจสอบ ประเมินผล และการประกันคุณภาพการศึกษา ไว้นั้น

เพื่อเป็นการกำหนดเป้าหมายของการพัฒนาผู้เรียนของสถานศึกษา ตามแนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จึงมีการกำหนดค่าเป้าหมายเกี่ยวกับผลลัพธ์ที่จะให้เกิดแก่ผู้เรียน โดยการมีส่วนร่วมของผู้บริหารสถานศึกษา และบุคลากรของสถานศึกษา เพื่อใช้ในการเทียบเคียง ตรวจสอบ ประเมินผล และการประกันคุณภาพทางการศึกษาเฉพาะในประเด็นการพิจารณาที่สมควรจัดให้มีการกำหนด ค่าเป้าหมาย สำหรับใช้ในการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ไว้ดังนี้

มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ประเด็นพิจารณาที่ ๑.๑ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา

ค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ คือ สถานศึกษามีการกำหนดคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาบังคับไว้เป็นค่าเป้าหมาย โดยกำหนดจาก

5 คะแนนเฉลี่ยผลการสอบปลายภาคเรียนของผู้เรียน จำนวน ๒ ภาคเรียน หรือ

5 คะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติการศึกษานอกระบบโรงเรียน (N-net)จำนวน ๒ ภาคเรียน ดังนี้


ระดับ/รายวิชา

คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาบังคับ

ที่สถานศึกษากำหนดไว้เป็นค่าเป้าหมาย (คะแนน)

ประถมศึกษา

เศรษฐกิจพอเพียง

๑๙.00

สุขศึกษา พลศึกษา

18.๐๐

ศิลปศึกษา

1๒.๐๐

ทักษะการเรียนรู้

14.๐๐

คณิตศาสตร์

1๘.๐๐

ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

1๔.๐๐

ภาษาไทย

๑๒.๐๐

วิทยาศาสตร์

๑๒.๐๐

สังคมศึกษา

๑๒.๐๐

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง

๑๔.๐๐

การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม

๑๒.๐๐

ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ

๒๐.๐๐

ทักษะการประกอบอาชีพ

๑๒.๐๐

พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน

๑๒.๐๐

มัธยมศึกษาตอนต้น

เศรษฐกิจพอเพียง

15.๐๐

สุขศึกษา พลศึกษา

๒๑.๐๐

ศิลปศึกษา

14.๐๐

ทักษะการเรียนรู้

๑๒.๐๐

คณิตศาสตร์

๑๒.๐๐

ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน

๑๒.๐๐

ภาษาไทย

๑๓.๐๐

วิทยาศาสตร์

15.0๐

สังคมศึกษา

13.๐๐

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง

1๔.๐๐

การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม

1๓.๐๐

ช่องทางการพัฒนาอาชีพ

1๔.๐๐

ทักษะการพัฒนาอาชีพ

๑๒.๐๐

พัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง

๑๒.๐๐

มัธยมศึกษาตอนปลาย

เศรษฐกิจพอเพียง

1๓.๐๐

สุขศึกษา พลศึกษา

16.๐๐

ศิลปศึกษา

1๓.๐๐

ทักษะการเรียนรู้

13.0๐

คณิตศาสตร์

๑๒.๐๐

ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม

๑๒.๐๐

ภาษาไทย

16.๐๐

วิทยาศาสตร์

1๕.๐๐

สังคมศึกษา

12.0๐

ศาสนาและหน้าที่พลเมือง

15.0๐

การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม

13.๐0

ช่องทางการขยายอาชีพ

1๔.๐๐

ทักษะการขยายอาชีพ

14.๐๐

พัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง

๑๒.๐๐

หมายเหตุ สถานศึกษาควรกำหนดค่าคะแนนเป้าหมายเฉพาะรายวิชาบังคับที่มีแผนการลงทะเบียนเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา ในปีงบประมาณที่สถานศึกษาจัดทำรายงานการประเมินตนเอง

ประเด็นการพิจารณาที่ ๑.๒ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด

ค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ คือ สถานศึกษาคาดว่าจะมีผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ได้รับการยกย่อง เชิดชูเกียรติ หรือเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านที่เกี่ยวข้องกับการมีคุณธรรมจริยธรรม ค่านิยม หรือคุณลักษณะที่ดี จำนวน ๒๙ คน

ประเด็นการพิจารณาที่ ๑.๓ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่น

ค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ คือ สถานศึกษาคาดว่าจะมีผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ไตร่ตรองอย่างรอบคอบ โดยใช้ข้อมูลและเหตุผลประกอบการตัดสินใจ แก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง สมเหตุสมผล และสามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่นได้ จำนวน ๒๙ คน

ประเด็นการพิจารณาที่ ๑.๔ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการสร้างสรรค์งาน ชิ้นงาน หรือนวัตกรรม

ค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ คือ สถานศึกษาคาดว่าจะมีผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานที่สามารถสร้างโครงงาน ชิ้นงาน สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ หรือสิ่งใหม่ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้จริง จำนวน ๑๘ คน

ประเด็นการพิจารณาที่ ๑.๘ ผู้จบการศึกษาขั้นพื้นฐานนำความรู้ ทักษะพื้นฐานที่ได้รับไปใช้หรือประยุกต์ใช้

ค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ คือ สถานศึกษาคาดว่าจะมีจำนวนผู้จบการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่สามารถนำความรู้ ทักษะพื้นฐานที่ได้รับไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต การประกอบอาชีพ หรือเพื่อการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น จำนวน ๒๔ คน

มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง

ประเด็นการพิจารณาที่ ๑.๓ ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่นำความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจักษ์หรือตัวอย่างที่ดี

ค่าเป้าหมายที่กำหนดไว้ คือ สถานศึกษาคาดว่าจะมีจำนวนผู้จบการศึกษา และหรือจำนวนกลุ่มผู้จบการศึกษาต่อเนื่อง ที่มีผลการดำเนินงานที่เห็นเป็นประจักษ์ในพื้นที่ หรือเป็นตัวอย่างที่ดี จำนวน ๒๘ คน

หมายเหตุ สถานศึกษากำหนดค่าเป้าหมายของสถานศึกษา เฉพาะในมาตรฐาน หรือประเด็นการพิจารณาที่ต้องใช้ค่าเป้าหมายในแต่ละประเภท ตามบทบาทหน้าที่ของสถานศึกษาในการประเมินคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่กำหนดขึ้น

พฤศจิกายน ๒๕๖๓


คำสั่งศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ

ที่ ๑๒๐ /๒๕๖๔

เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (SAR)

.....................................

ตามที่ กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ประกาศ ณ วันที่ ๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๒ ประกอบกับกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ซึ่งได้กำหนดให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับ แต่ละประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด พร้อมทั้งจัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและดำเนินการตามแผนที่กำหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่กำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจำทุกปี และตามกฎกระทรวง กำหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สำหรับสถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. ๒๕๕๕ ที่อาศัยอำนาจตามความในมาตรา ๒๐ วรรคสาม และมาตรา ๒๕ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. ๒๕๕๑ ได้กำหนดให้สถานศึกษาต้องดำเนินการ ๑) จัดให้มีมาตรฐานการศึกษานอกระบบที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกำหนด ๑) จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี ๓) ดำเนินงานตามแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี ๔) จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ๕) จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๖) จัดทำรายงานการประเมินตนเองประจำปี ๗) เสนอรายงานการประเมินคุณภาพภายในต่อคณะกรรมการสถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และภาคีเครือข่าย และเผยแพร่ต่อสาธารณชน ๘) นำผลการประเมินคุณภาพภายในมาเป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา โดยการมีส่วนร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาและภาคีเครือข่าย ๙) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ ๑๐) ยึดหลักการมีส่วนร่วมของสถานศึกษา บุคลากรทุกคนในสถานศึกษา ภาคีเครือข่าย และผู้รับบริการ นั้น

เพื่อให้การปฏิบัติราชการของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ เป็นไปด้วยความเรียบร้อยและเกิดผลดีต่อทางราชการ อาศัยคำสั่งสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการที่ ๔๘๙/๒๕๕๑ เรื่องมอบอำนาจให้ผู้อำนวยการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ และผู้อำนวยการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเขต ปฏิบัติราชการแทน จึงแต่งตั้งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report (SAR) กศน.อำเภอ วังสามหมอ ประกอบด้วย

๑. คณะกรรมการฝ่ายอำนวยการ มีหน้าที่ให้คำปรึกษา ข้อเสนอแนะ อำนวยความสะดวก ในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report (SAR) ประกอบไปด้วย

๑. นายชากล้า สงวนนาม ผอ.กศน.อำเภอวังสามหมอ ประธานกรรมการ

๒. นายณัฐพงศ์ โสภิณ ครู กรรมการ

๓. นางฟองจันทร์ แผนบุตร ครูอาสาสมัครฯ กรรมการ

๔. นางสาวกัณฐ์ธภิญค์ษา ผดุงไสย์ ครูผู้ช่วย กรรมการและเลขานุการ

๕. นางวิมล โสภิณ ครู กศน.ตำบล ผู้ช่วยกรรมการและเลขานุการ

๒. คณะกรรมการรวบรวม จัดเก็บข้อมูลผลตามมาตรฐานการศึกษา มีหน้าที่จัดเก็บข้อมูล รวบรวมข้อมูลในการจัดทำรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประกอบไปด้วย

๒.๑ การประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน



มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา

ผู้รับผิดชอบ





มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน


๑.๑ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา

นายสัตพล ภารไสว

๑.๒ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่ดี

ตามที่สถานศึกษากำหนด

นางวงจันทร์ วรรณโนมัย

๑.๓ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่น

นางสมบูรณ์ ลีบ่อน้อย

๑.๔ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการสร้างสรรค์งาน ชิ้นงาน

หรือนวัตกรรม

นายปริญญา แก้ววิชัย

๑.๕ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล

นายพงศ์วุฒิ เวชบุตร

๑.๖ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีสุขภาวะทางกาย และสุนทรียภาพ

น.ส.มนสิชา จันทรา

๑.๗ ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการอ่าน การเขียน

น.ส.พรรษวรรณ วรรณพราหมณ์

๑.๘ ผู้จบการศึกษาขั้นพื้นฐานนำความรู้ ทักษะพื้นฐานที่ได้รับไปใช้ หรือประยุกต์ใช้

นางฟองจันทร์ แผนบุตร

มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ


๒.๑ การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับบริบท และความต้องการของผู้เรียน ชุมชน ท้องถิ่น

นางสาวกัณฐ์ธภิญค์ษา ผดุงไสย์

๒.๒ สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้

น.ส.ศิรินภา ดวงบุญมี

๒.๓ ครูมีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

น.ส.ศิรินภา ดวงบุญมี

๒.๔ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ

นายสัตพล ภารไสว

มาตรฐานที่ ๓ คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา


๓.๑ การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม

น.ส.รัตน์สุดา จันทรรักษ์

๓.๒ ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

นายณัฐพงศ์ โสภิณ

๓.๓ การพัฒนาครู และบุคลากรของสถานศึกษา

นายณัฐพงศ์ โสภิณ

๓.๔ การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ

น.ส.ฐิติมา เทียนไทยสงค์

๓.๕ การกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา

นางสาวกัณฐ์ธภิญค์ษา ผดุงไสย์

๓.๖ การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาที่เป็นไปตามบทบาทที่กำหนด

นางฟองจันทร์ แผนบุตร

๓.๗ การส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

นายสิทธิชัย ศรีหลิ่ง

๓.๘ การส่งเสริม สนับสนุนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

นางอรวรรณ ศรีหริ่ง

๓.๙ การวิจัยเพื่อการบริหารจัดการศึกษาสถานศึกษา

น.ส.ชไมพร เหล่ารัตน์ศรี

๒.๒ การประเมินคุณภาพการศึกษาต่อเนื่อง



มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา

ผู้รับผิดชอบ





มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง


๑.๑ ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องมีความรู้ ความสามารถ และหรือทักษะ และหรือคุณธรรมเป็นไปตามเกณฑ์การจบหลักสูตร

น.ส.สุธาสินี วันชูเสริฐ

๑.๒ ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ บนฐานค่านิยมร่วมของสังคม

นายสุริยะ ลีบ่อน้อย

๑.๓ ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่นำความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจักษ์หรือตัวอย่างที่ดี

น.ส.ศศิธร กองแก้ว

มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง


๒.๑ หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องมีคุณภาพ

นางวิมล โสภิณ

๒.๒ วิทยากรการศึกษาต่อเนื่องมีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์

ตรงตามหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง

น.ส.สุภาพร ฤทธิขันธ์

๒.๓ สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้

น.ส.ศิรินภา ดวงบุญมี

๒.๔ การวัดและประเมินผลผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง

น.ส.ดวงกมล แสนวงค์

๒.๕ การจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่องที่มีคุณภาพ

นายครรชิต เพชรบุรมย์

๒.๓ การประเมินคุณภาพการศึกษาตามอัธยาศัย


มาตรฐาน/ประเด็นการพิจารณา

ผู้รับผิดชอบ





มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย


๑.๑ ผู้รับบริการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์

ของโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

น.ส.สุพรรษา ปัตถาวะโร

มาตรฐานที่ ๒ คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย


๒.๑ การกำหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

น.ส.สุพรรษา ปัตถาวะโร

นายธงชัย สิทธิโชติ

๒.๒ ผู้จัดกิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

นางมณีอร ชินวรรณ

นางไสว ภูดวงดอก

๒.๓ สื่อ หรือนวัตกรรม และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

นายอุทัย เหล่ามาลา

นายสังวาล โสดามา

๒.๔ ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

นายอนันต์ โชติรักษา

นายชาญชัย ศรีประเสริฐ

ให้ผู้ที่ได้รับการแต่งตั้งตามคำสั่งปฏิบัติตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อทางราชการ

ทั้งนี้ ตั้งแต่วันที่ ๑ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๔ เป็นต้นไป

สั่ง ณ วันที่ ๑ เดือน ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๖๔

(นายชากล้า สงวนนาม)

ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ

ประกาศ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ

เรื่อง การใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

------------------------------

ตามที่ กระทรวงศึกษาธิการได้มีกากรประกาศใช้กฎกระทรวง เรื่อง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. 2561 กฎกระทรวง กำหนดระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพภายใน สำหรับสถานศึกษาที่จัดการศึกษานอกระบบ พ.ศ. 2555 และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ณ วันที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2562 นั้น

เพื่อให้มีมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาสำหรับใช้ในการประกันคุณภาพภายในของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ จึงประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ดังเอกสารที่แนบท้ายประกาศนี้ เพื่อเป็นเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และการประเมินคุณภาพภายใน

ประกาศ ณ วันที่ 3 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.2563

(นายชากล้า สงวนนาม)

ผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแนบท้าย

ประกาศ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอวังสามหมอ

เรื่องการใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

----------------------------------

มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน

มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีจำนวน 3 มาตรฐาน ประกอบด้วย

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ซึ่งมีประเด็นการพิจารณาจำนวน 8 ประเด็น ประกอบด้วย

1.1 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีสอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา

1.2 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด

1.3 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกับผู้อื่น

1.4 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการสร้างสรรค์งาน ชิ้นงาน หรือนวัตกรรม

1.5 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล

1.6 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีสุขภาวะทางกาย และสุนทรียภาพ

1.7 ผู้เรียนการศึกษาขั้นพื้นฐานมีความสามารถในการอ่าน การเขียน

1.8 ผู้จบการศึกษาขั้นพื้นฐานนำความรู้ ทักษะพื้นฐานที่ได้รับไปใช้หรือประยุกต์ใช้

มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จำนวน 4 ประเด็น ประกอบด้วย

2.1 การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับบริบท และความต้องการของผู้เรียน ชุมชน ท้องถิ่น

2.2 สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้

2.3 ครูมีความรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

2.4 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ

มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จำนวน 9 ประเด็น ประกอบด้วย

3.1 การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการามีส่วนร่วม

3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา

3.4 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ

3.5 การกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา

3.6 การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาที่เป็นไปตามบทบาทที่กำหนด

3.7 การส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

3.8 การส่งเสริม สนับสนุนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

3.9 การวิจัยเพื่อการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษา

หมายเหตุ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา สามารถใช้ร่วมกันได้ทั้งมาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง และมาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย

มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง

----------------------------------

มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง

มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง มีจำนวน 3 มาตรฐาน ประกอบด้วย

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จำนวน 3 ประเด็น ประกอบด้วย

1.1 ผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่องมีความรู้ ความสามารถ และหรือทักษะ และหรือคุณธรรมเป็นไปตามเกณฑ์การจบหลักสูตร

1.2 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องสามารถนำความรู้ที่ได้ไปใช้ หรือประยุกต์ใช้ บนฐานค่านิยมร่วมของสังคม

1.3 ผู้จบหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องที่นำความรู้ไปใช้จนเห็นเป็นประจักษ์หรือตัวอย่างที่ดี

มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่อง ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จำนวน 5 ประเด็น ประกอบด้วย

2.1 หลักสูตรการศึกษาต่อเนื่องมีคุณภาพ

2.2 วิทยากรการศึกษาต่อเนื่องมีความรู้ ความสามารถ หรือประสบการณ์ตรงตามหลักสูตรการศึกษาต่อเนื่อง

2.3 สื่อที่เอื้อต่อการเรียนรู้

2.4 การวัดและประเมินผลผู้เรียนการศึกษาต่อเนื่อง

2.5 การจัดกระบวนการเรียนรู้การศึกษาต่อเนื่องที่มีคุณภาพ

มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จำนวน 9 ประเด็น ประกอบด้วย

3.1 การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการามีส่วนร่วม

3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา

3.4 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ

3.5 การกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา

3.6 การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาที่เป็นไปตามบทบาทที่กำหนด

3.7 การส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

3.8 การส่งเสริม สนับสนุนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

3.9 การวิจัยเพื่อการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษา

หมายเหตุ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา สามารถใช้ร่วมกันได้ทั้งมาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง และมาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย

มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย

----------------------------------

มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย

มาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย มีจำนวน 3 มาตรฐาน ประกอบด้วย

มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้รับบริการการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จำนวน 1 ประเด็น ประกอบด้วย

1.1 ผู้รับบริการมีความรู้ หรือทักษะ หรือประสบการณ์ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการหรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

มาตรฐานที่ 2 คุณภาพการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จำนวน 4 ประเด็น ประกอบด้วย

2.1 การกำหนดโครงการ หรือกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

2.2 ผู้จัดกิจกรรมมีความรู้ ความสามารถในการจัดกิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย

2.3 สื่อ หรือนวัตกรรม และสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

2.4 ผู้รับบริการมีความพึงพอใจต่อการจัดการศึกษาตามอัธยาศัย

มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา ซึ่งมีประเด็นการพิจารณา จำนวน 9 ประเด็น ประกอบด้วย

3.1 การบริหารจัดการของสถานศึกษาที่เน้นการามีส่วนร่วม

3.2 ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

3.3 การพัฒนาครู และบุคลากรทางการศึกษา

3.4 การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ

3.5 การกำกับ นิเทศ ติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานของสถานศึกษา

3.6 การปฏิบัติหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาที่เป็นไปตามบทบาทที่กำหนด

3.7 การส่งเสริม สนับสนุนภาคีเครือข่ายให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

3.8 การส่งเสริม สนับสนุนการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้

3.9 การวิจัยเพื่อการบริหารจัดการศึกษาของสถานศึกษา

หมายเหตุ มาตรฐานที่ 3 คุณภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา สามารถใช้ร่วมกันได้ทั้งมาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาต่อเนื่อง และมาตรฐานการศึกษาตามอัธยาศัย

ประเด็นพิจารณาข้อ 1.1

ระดับ/รายวิชาบังคับ

ภาคเรียนที่ 2/63


ภาคเรียนที่ 1/64


ผลการเปรียบเทียบคะแนนเฉลี่ยผลการสอบปลายภาคเรียนระดับสถานศึกษากับคะแนนผลสัมฤทธิ์ที่สถานศึกษาตั้งค่าเป้าหมายไว้



ชื่อวิชา

คะแนนเฉลี่ยผลการสอบปลายภาคเรียนระดับสถานศึกษา

คะแนนผลสัมฤทธิ์ที่สถานศึกษาตั้งค่าเป้าหมายไว้

คะแนนเฉลี่ยผลการสอบปลายภาคเรียนระดับสถานศึกษา

คะแนนผลสัมฤทธิ์ที่สถานศึกษาตั้งค่าเป้าหมายไว้

ภาคเรียนที่ 2/2563

ภาคเรียนที่ 1/2564




















ประถมศึกษา



เศรษฐกิจพอเพียง

14.00

19.00

18.5

19.00

ต่ำกว่า

ต่ำกว่า



สุขศึกษา พลศึกษา

11.25

18.00

21.22

18.00

ต่ำกว่า

สูงกว่า



ศิลปศึกษา

14.33

12.00

5

12.00

สูงกว่า

ต่ำกว่า



ทักษะการเรียนรู้

15.50

14.00

17.94

14.00

สูงกว่า

สูงกว่า



คณิตศาสตร์

13.47

18.00

0

18.00

ต่ำกว่า




ภาษาอังกฤษพื้นฐาน

11.60

14.00

19.67

14.00

ต่ำกว่า

สูงกว่า



ภาษาไทย

10.80

12.00

20.95

12.00

ต่ำกว่า

สูงกว่า



วิทยาศาสตร์

14.00

12.00

20.2

12.00

สูงกว่า

สูงกว่า



สังคมศึกษา

14.78

12.00

0

12.00

สูงกว่า




ศาสนาและหน้าที่พลเมือง

10.00

14.00

18.89

14.00

ต่ำกว่า

สูงกว่า



การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม

12.67

12.00

19.73

12.00

สูงกว่า

สูงกว่า



ช่องทางการเข้าสู่อาชีพ

24.00

20.00

17.33

20.00

สูงกว่า

ต่ำกว่า



ทักษะการประกอบอาชีพ

14.03

12.00

30

12.00

สูงกว่า

สูงกว่า



พัฒนาอาชีพให้มีอยู่มีกิน

13.25

12.00

20.71

12.00

สูงกว่า

สูงกว่า



ม.ต้น



เศรษฐกิจพอเพียง

12.43

15.00

24.29

15.00

ต่ำกว่า

สูงกว่า



สุขศึกษา พลศึกษา

15.43

21.00

23.82

21.00

ต่ำกว่า

สูงกว่า



ศิลปศึกษา

13.58

14.00

21.38

14.00

ต่ำกว่า

สูงกว่า



ทักษะการเรียนรู้

13.89

12.00

15.88

12.00

สูงกว่า

สูงกว่า



คณิตศาสตร์

12.59

12.00

21.01

12.00

สูงกว่า

สูงกว่า



ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน

12.00

12.00

21.00

12.00

เท่ากับ

สูงกว่า



ภาษาไทย

11.21

13.00

17.09

13.00

ต่ำกว่า

สูงกว่า



วิทยาศาสตร์

11.53

15.00

15.80

15.00

ต่ำกว่า

สูงกว่า


สังคมศึกษา

11.50

13.00

22.50

13.00

ต่ำกว่า

สูงกว่า



ศาสนาและหน้าที่พลเมือง

15.34

14.00

23.80

14.00

สูงกว่า

สูงกว่า



การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม

13.67

13.00

18.83

13.00

สูงกว่า

สูงกว่า



ช่องทางการพัฒนาอาชีพ

14.38

14.00

19.67

14.00

สูงกว่า

สูงกว่า



ทักษะการพัฒนาอาชีพ

14.25

12.00

19.24

12.00

สูงกว่า

สูงกว่า



พัฒนาอาชีพให้มีความเข้มแข็ง

11.56

12.00

14.17

12.00

ต่ำกว่า

สูงกว่า



ม.ปลาย



เศรษฐกิจพอเพียง

13.00

13.00

19.88

13.00

เท่ากับ

สูงกว่า



สุขศึกษา พลศึกษา

19.16

16.00

18.48

16.00

สูงกว่า

สูงกว่า



ศิลปศึกษา

13.05

13.00

15.74

13.00

สูงกว่า

สูงกว่า



ทักษะการเรียนรู้

11.13

13.00

21.97

13.00

ต่ำกว่า

สูงกว่า



คณิตศาสตร์

11.57

12.00

15.14

12.00

ต่ำกว่า

สูงกว่า



ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม

10.16

12.00

19.56

12.00

ต่ำกว่า

สูงกว่า



ภาษาไทย

11.92

16.00

16.43

16.00

ต่ำกว่า

สูงกว่า



วิทยาศาสตร์

12.27

15.00

21.05

15.00

ต่ำกว่า

สูงกว่า



สังคมศึกษา

16.33

12.00

23.05

12.00

สูงกว่า

สูงกว่า



ศาสนาและหน้าที่พลเมือง

14.23

15.00

18.75

15.00

ต่ำกว่า

สูงกว่า



การพัฒนาตนเอง ชุมชน สังคม

13.85

13.00

21.75

13.00

สูงกว่า

สูงกว่า



ช่องทางการขยายอาชีพ

11.29

14.00

21.13

14.00

ต่ำกว่า

สูงกว่า



ทักษะการขยายอาชีพ

23.21

14.00

19.35

14.00

สูงกว่า

สูงกว่า



พัฒนาอาชีพให้มีความมั่นคง

11.85

12.00

17.48

12.00

ต่ำกว่า

สูงกว่า



จำนวนรายวิชาบังคับที่มีคะแนนเฉลี่ยฯ ระดับสถานศึกษา เท่ากับหรือสูงกว่าคะแนนผลสัมฤทธิ์ที่สถานศึกษาตั้งค่าเป้าหมายไว้





20

37



คำนวณร้อยละของจำนวนรายวิชาบังคับที่มีคะแนนเฉลี่ยผลการสอบปลายภาคเรียน เท่ากับหรือสูงกว่า คะแนนผลสัมฤทธิ์ที่สถานศึกษาตั้งค่าเป้าหมายไว้ในแต่ละภาคเรียนรวม 2 ภาคเรียน





50.00

92.50



คำนวณร้อยละเฉลี่ยในภาพรวม ทั้งปีงบประมาณ





71.25




คณะผู้จัดทำ

ที่ปรึกษา

นายวรินทร์ วิรุณพันธ์ ผอ.สำนักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี

นางสาวธัญญานันท์ ธัญชิตานิธีธนัย รอง ผอ.สำนักงาน กศน.จังหวัดอุดรธานี

นายชากล้า สงวนนาม ผอ.กศน.อำเภอวังสามหมอ

รวบรวมข้อมูล

นายณัฐพงศ์ โสภิณ ครู

นางสาวกัณฐ์ธภิญค์ษา ผดุงไสย์ ครูผู้ช่วย

ครูอาสาสมัคร กศน. ทุกคน

ครู กศน.ตำบลทุกคน

ครูประจำศูนย์การเรียนชุมชน ทุกคน

ครูผู้สอนคนพิการทุกคน

นักวิชาการศึกษาทุกคน

บรรณารักษ์ฯ

รูปเล่ม

นายณัฐพงศ์ โสภิณ ครู

นางสาวกัณฐ์ธภิญค์ษา ผดุงไสย์ ครูผู้ช่วย

นางวิมล โสภิณ ครู กศน.ตำบล