การปักผ้าลายหมอนอิง

ประวัติความเป็นมา 

กศน.ตำบลทุ่งหัวช้าง จึงจัดทำหลักสูตรการปักลายปลอกหมอนอิงเพื่อส่งเสริม สนับสนุนผลงานด้านงานฝีมือซึ่งเป็นความถนัดของกลุ่มสนใจในตำบลทุ่งหัวช้าง จึงมีกระบวนการจัดการเรียนรู้หลักสูตรการปักลายปลอกหมอนอิง ขึ้นเพื่อเป็นอีกทางเลือหนึ่งที่จะสร้างมูลค่าและสามารถจัดจำหน่ายสินค้าหลายช่องทางได้ โดยการเรียนเน้นการปฏิบัติจริง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้จากผู้มีประสบการณ์ในอาชีพโดยตรงและให้ผู้เรียนที่เรียนจบจากหลักสูตรอาชีพมีความมั่นใจว่าจะสามารถประกอบอาชีพสร้างรายได้ 



วัสดุอุปกรณ์

วิธีทำ 

1.คำนึงถึงความเหมาะสมของวัสดุหรือผ้าที่ใช้ เช่น ผ้าเนื้อบางควรเลือกลายขนาดเล็ก ถ้าเป็นผ้าเนื้อหนาควรเลือกลายที่ดูมีน้ำหนักให้สมดุลกัน

2.ควรมีเข็มเตรียมไว้หลายขนาดเพื่อเลือกใช้ตามลักษณะของเนื้อผ้า

3.เวลาปักต้องดึงไหมให้พอดี ไม่ตึงหรือหย่อนเกินไป งานปักจึงจะเรียบและสวยงาม

4.สะดึงมี2 ชนิด คือ แบบกลมซึ่งมีหลายขนาด เหมาะสำหรับผ้าผืนเล็กๆ และสะดึงแบบกรอบสี่เหลี่ยมเหมาะสำหรับผ้าผืนใหญ่ๆ และการปักลายไทย

5.เข็มปักผ้ามีหลายเบอร์หลายขนาด ผ้าเนื้อหนาใช้เบอร์ 8 เนื้อบางใช้เบอร์11 


การเตรียม วัสดุ อุปกรณ์ในการปักลายปลอกหมอนอิง

ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริงให้เกิดทักษะในการเตรียมวัสดุอุปกรณ์ 

กระบวนการผลิต การจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้  ปักลายปลอกหมอนอิง

ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริง
ให้เกิดทักษะหลักสูตรการปักลายปลอกหมอนอิง    

ผู้เรียนฝึกปฏิบัติจริงให้เกิดทักษะหลักสูตรการปักลายปลอกหมอนอิง 

ผลงาน

วิทยากรผู้ให้ความรู้  นางกานดา  เชื้อเมืองพาน

บทความ : ภาพ   โดย นางแววดาว แสงบุญเรือง       ครู กศน.ตำบลทุ่งหัวช้าง