ข้อมูลตำบลห้วยโป่ง


ข้อมูลพื้นฐาน

                 พื้นที่เดิมเป็นพื้นที่ป่าดงดิบ มีผู้เข้ามาอาศัยทำไร่เลื่อยลอย   ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่มาจาก ตำบลเนินพระ ตำบลทับมา 
พอมีประชาชนมาอยู่เป็นจำนวนมาก ทางราชการจึงจัดตั้งเป็นหมู่บ้านและตำบล มี 5 หมู่บ้าน ต่อมามีการแบ่งแยกเป็นตำบลมาบตาพุด ปี 2541  ซึ่งมีหมู่ที่ 3 และ 4 บางส่วน สำหรับชื่อห้วยโป่ง มาจากลำธารเล็กๆ ต้นน้ำจากห้วยมะหาดไหลผ่าน บริเวณที่มีดินเค็มเรียกว่า ดินโป่งจึงมีชื่อเรียกว่า หนองโป่ง และปัจจุบันเรียกกันว่า ห้วยโป่ง  พื้นที่  มีที่ราบสลับกับชายป่าชายเขา พื้นที่ส่วนใหญ่ ทำไร่ ทำสวน เลี้ยงสัตว์บางพื้นที่ก็เป็นแหล่งอุตสาหกรรม

1.สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานตำบล

1.1 สภาพทางกายภาพของชุมชนตำบลห้วยโป่ง

- ขนาดพื้นที่  

พื้นที่ 59.88 ตารางกิโลเมตร

- พิกัด กศน.ตำบลห้วยโป่ง

ละติจูด  12.754117

ลองติจูด  101.137203

- ที่ตั้งและอาณาเขตติดต่อ

- กศน.ตำบลห้วยโป่ง  ตั้งอยู่ที่  (วัดห้วยโป่ง)  บ้านเลขที่ 55   ชุมชนวัดห้วยโป่ง

ถนนห้วยโป่ง-หนองบอน อำเภอเมืองระยอง  จังหวัดระยอง  รหัสไปรษณีย์  21150

- อาณาเขตติดต่อดังนี้

 

ทิศเหนือ               ติดต่อ         ตำบลมาบข่า ถนนสาย 36

ทิศใต้                   ติดต่อ        อ่าวไทย

ทิศตะวันออก          ติดต่อ        ตำบลมาบตาพุด

ทิศตะวันตก            ติดต่อ        อำเภอบ้าฉาง

 

1.2 ลักษณะทางกายภาพ

เดิมเป็นพื้นที่ป่าดงดิบ มีผู้เข้ามาอาศัยทำไร่เลื่อยลอย   ซึ่งประชาชนส่วนใหญ่มาจาก ตำบลเนินพระ

ตำบลทับมา  พอมีประชาชนมาอยู่เป็นจำนวนมาก ทางราชการจึงจัดตั้งเป็นหมู่บ้านและตำบล มี 5 หมู่บ้าน ต่อมามีการแบ่งแยกเป็นตำบลมาบตาพุด ปี 2514  ซึ่งมีหมู่ที่ 3 และ 4 บางส่วน สำหรับชื่อห้วยโป่ง มาจากลำธารเล็กๆ

ต้นน้ำจากห้วยมะหาดไหลผ่าน บริเวณที่มีดินเค็มเรียกว่า ดินโป่ง จึงมีชื่อเรียกว่า หนองโป่ง และปัจจุบันเรียกกันว่า ห้วยโป่ง  พื้นที่มีที่ราบสลับกับชายป่าชายเขา พื้นที่ส่วนใหญ่ ทำไร่ ทำสวน เลี้ยงสัตว์บางพื้นที่ก็เป็นแหล่งอุตสาหกรรม 

โครงสร้างพื้นฐาน

Ø ลักษณะการแบ่งเขตการปกครอง   ตำบลห้วยโป่ง   มีทั้งหมด   12   ชุมชน


            ชุมชน     ชื่อ – สกุล  ประธานชุมชน      เบอร์ติดต่อ

1.ชุมชนชากลูกหญ้า     นายวิษณุ   สังข์วงษ์                                       081-7773-393

2.ชุมชนหนองหวายโสม   นายบุญรอด  โตสุวรรณ   087-6116-469

3.ชุมชนห้วยโป่งใน 1   นายสมบัติ   จันที 081-4100298

4.ชุมชนห้วยโป่งใน 2   นายณัฐวุฒิ วีระพันธ์ 087-8333-050

5.ชุมชนซอยคีรี   นายอเนก   นาคเรืองศรี 089-6012-913

6.ชุมชนห้วยโป่งใน-สะพานน้ำท่วม   นายสงั่น   จวงด้วง 086-1086-566

7.ชุมชนเจริญพัฒนา   นางน้ำเงิน   ยอดสร้อย 089-085 -3814

8.ชุมชนวัดชากลูกหญ้า   นางสาวนภาพัฒน์  อู่เจริญ 081-9829-630

9.ชุมชนมาบชลูด-ชากกลาง   นายจำนงค์   จ้อยทองมูล 089-5443-451

10.ชุมชนตลาดห้วยโป่ง   นายสมศักดิ์ บุญเต็ม 081-4528-200

11.ชุมชนมาบชลูด   นางจีรภา   มหาเทพ 086-8393-316

12.ชุมชนวัดห้วยโป่ง   นายธานิน    มุกดา 094-8853-565


   Ø การคมนาติดต่อสื่อสาร

จากถนนสุขุมวิท  ไปทางอำเภอบ้านฉาง ประมาณ 15 กม. จากตำบลห้วยโป่งไปในตัวอำเภอ

เมืองระยอง ระยะทาง ประมาณ  16  กม.  เดินทางโดยรถยนต์ รถโดยสารประจำทาง

2. สภาพทางสังคม – ประชากร

- จำนวนครัวเรือน  จำนวนประชากร แยกชาย /หญิง 


ชุมชน   ชาย หญิง รวม

1.ชุมชนชากลูกหญ้า 828 773 1,601

2.ชุมชนหนองหวายโสม 883 903 1,786

3.ชุมชนห้วยโป่งใน 11,315 1,391 2,706

4.ชุมชนห้วยโป่งใน 2 1,250 1,299 2,549

5.ชุมชนซอยคีรี 649 599 1,248

6.ชุมชนห้วยโป่งใน-สะพานน้ำท่วม 881 888 1,769

7.ชุมชนเจริญพัฒนา 481 500 981

8.ชุมชนวัดชากลูกหญ้า 828 773 1,601

9.ชุมชนมาบชลูด-ชากกลาง 668 660 1,328

10.ชุมชนตลาดห้วยโป่ง 987 1,009 1,996

11.ชุมชนมาบชลูด 1,142 1,038 2,180

12.ชุมชนวัดห้วยโป่ง 586 555  1,141

วม 10,498     10,388   20,886

·       อ้างอิงจาก ทะเบียนราษฎร์เทศบาลเมืองมาบตาพุด  ณ  วันที่  13  กันยายน  2562

Ø กลุ่มผู้สูงอายุ  ส่วนใหญ่แล้วผู้สูงอายุ จะไปร่วมกิจกรรมกันทุกวันอังคารสุดท้ายของเดือนเพื่อ

พบปะและทำกิจกรรมร่วมกัน  ณ  โรงเรียนผู้สูงอายุ  เทศบาลเมืองมาบตาพุด

Ø กลุ่ม  อสม.ทุกชุมชน  จำนวน   184   คน  เพื่อช่วยปฎิบัติงานในพื้นที่ชุมชนที่รับมอบหมาย

ในการประสานกับเทศบาลเมืองมาบตาพุดและศูนย์บริการสาธารณสุขตำบลห้วยโป่ง        

v สภาพทางการศึกษา

Ø จัดและส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย  ให้กับประชากร

ตั้งแต่อายุ 15 ขึ้นไป ของตำบลห้วยโป่ง ดังนี้                                                                                                                                                               

·   การศึกษาขั้นพื้นฐาน   ทั้ง 3 ระดับ     จำนวน   210   คน   

§  ระดับประถมศึกษา        จำนวน     10   คน

§  ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน   100   คน

§  ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน   100   คน

·   ตำบลห้วยโป่ง มีการจัดการศึกษา และมีสถานศึกษาอยู่ในพื้นที่ทั้งหมด  7  แห่ง

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  จำนวน  2  แห่ง  ดังนี้

§  โรงเรียนสังกัดเทศบาล  จำนวน  1  แห่ง 

Ø โรงเรียนเทศบาลมาบตาพุด

§  โรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขึ้นพื้นฐาน จำนวน 3 แห่ง

Ø โรงเรียนวัดห้วยโป่ง

Ø โรงเรียนวัดชากลูกหญ้า

Ø โรงเรียนวัดมาบชลูด

§  โรงเรียนสังกัดกรมสามัญศึกษา   จำนวน 1 แห่ง 

Ø โรงเรียนระยองวิทยาคม นิคมอุตสาหกรรม

§  วิทยาลัยสังกัดกรมอาชีวศึกษา     จำนวน  2  แห่ง

Ø วิทยาลัยสารพัดช่างระยอง

Ø วิทยาลัยเทคนิคมาบตาพุด

§  ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก  จำนวน   2  แห่ง

Ø ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดห้วยโป่ง

Ø ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กวัดมาบชลูด

3. สภาพเศรษฐกิจ

v โครงสร้างทางเศรษฐกิจ ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ได้แก่ การทำสวน

ผลไม้  สวนยางพารา  การพาณิชยกรรม  อุตสาหกรรม และรับจ้างทั่วไป ตามลำดับ ปัจจุบันการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ทางเศรษฐกิจในด้านการเกษตรกรรมมีแนวโน้มลดลง โดยจะมีการขยายตัวทางเศรษฐกิจด้านอุตสาหกรรม และบริการเพิ่มมากขึ้น ทั้งนี้เป็นผลสืบเนื่องมาจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจภายในจังหวัด และจากแผนพัฒนาพื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก 

Ø สถานประกอบการด้านการพาณิชยกรรม

·   ธนาคาร จำนวน 6 แห่ง

·   สถานีบริการน้ำามัน จำนวน 3 แห่ง

·   ตลาดนัดชุมชน  จำนวน 5 แห่ง

·   บริษัท จำนวน 78  แห่ง

·   ห้างหุ้นส่วนจำกัด จำนวน 12 แห่ง          

·   ท่าเทียบเรือ จำนวน 1 แห่ง

Ø อาชีพของชุมชน

·       อาชีพหลัก   ทำสวน ,ทำไร่

·       อาชีพเสริม รับจ้างทั่วไป  พนักงานบริษัท  และการประกอบอาชีพส่วนตัว