ตำราหลัก

การพยาบาลอนามัยชุมชน


ตำราการพยาบาลอนามัยชุมชน 15 ชื่อเรื่อง


กีรดา ไกรนุวัตร, และรักชนก คชไกร (บรรณาธิการ). (2561). การพยาบาล ชุมชน. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล,โครงการตำราคณะพยาบาลศาสตร์.


เลขเรียกหนังสือ : WY106 ก492 2561


ISBN : 9786162799440


จำนวนเล่ม : พ.ศ 2561 จำนวน 1 เล่ม

พ.ศ2559 จำนวน 49 เล่ม

Contents:

บทที่ 1 แนวคิดการพยาบาลชุมชน -- บทที่ 2 การประเมินและการวินิจฉัยชุมชน -- บทที่ 3 การวางแผนและการปฏิบัติตามแผนเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน -- บทที่ 4 การประเมินผลการดำเนินงานแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน -- บทที่ 5 การดูแลครอบครัว -- บทที่ 6 การดูแลบุคคลที่เจ็บป่วย
ผู้พิการ และมีภาวะเสี่ยงในครอบครัว -- บทที่ 7 วิทยาการระบาดสำหรับพยาบาลชุมชน

คำนวณ อึ้งชูศักดิ์, ปฐม สวรรค์ปัญญาเลิศ, วิทยา สวัสดิวุฒิพงศ์ และ ชุลีพร จิระพงษา (บรรณาธิการ). (2559). พื้นฐานระบาดวิทยา = Basics of epidemiology (พิมพ์ครั้ง ที่ 2). นนทบุรี: สมาคมนักระบาด วิทยาภาคสนาม.


เลขเรียกหนังสือ : WA105 พ816 2559


ISBN : 9786169157427


จำนวนเล่ม : พ.ศ2559 จำนวน 30 เล่ม

Contents:

บทที่ 1 ภาพรวมของระบาดวิทยา -- บทที่ 2 การวัดทางระบาดวิทยา -- บทที่ 3 รูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยา -- บทที่ 4 วิชาสถิติเบื้องต้นสำหรับนักระบาดวิทยาภาคสนาม -- บทที่ 5 การมีปัจจัยรบกวนและอคติ -- บทที่ 6 การสรุปเชิงสาเหตุทางระบาดวิทยา -- บทที่ 7 การเฝ้าระวังทางสาธารณสุข -- บทที่ 8 การสอบสวนทางระบาดวิทยา -- บทที่ 9 ระบาดวิทยาและการป้องกันโรคไม่ติดต่อ -- บทที่ 10 ระบาดวิทยาประยุกต์สำหรับการเฝ้าระวังป้องกันควบคุมโรคติดต่อ -- บทที่ 11 ระบาดวิทยาคลินิก -- บทที่ 12 ระบาดวิทยาด้านโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม -- บทที่ 13 ระบาดวิทยากับการวางนโยบายและแผนงานทางสาธารณสุข -- บทที่ 14 การนำวิชาระบาดวิทยามาใช้จริงในการทำงาน

จินตนา วัชรสินธุ์. (2560). การพยาบาลครอบครัวที่มีสมาชิกเจ็บป่วยเรื้อรัง. ชลบุรี: คณะ พยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.


เลขเรียกหนังสือ : WY200 จ483ก 2560


ISBN : 9786164404373


จำนวนเล่ม : พ.ศ 2560 จำนวน 50 เล่ม

Contents:

บทที่ 1 บทนำ: การเจ็บป่วยเรื้อรังกับครอบครัว -- บทที่ 2 อิทธิพลของครอบครัวกับการเจ็บป่วยเรื้อรัง -- บทที่ 3 องค์ความรู้ที่เป็นฐานความคิดการพยาบาลครอบครัวที่มีสมาชิกเจ็บป่วยเรื้อรัง -- บทที่ 4 การพัฒนารูปแบบการพยาบาลครอบครัวที่มีสมาชิกเจ็บป่วยเรื้อรัง -- บทที่ 5 รูปแบบการบำบัดการพยาบาลครอบครัวที่มีสมาชิกเจ็บป่วยเรื้อรัง -- บทที่ 6 การประยุกต์รูปแบบการบำบัดการพยาบาลครอบครัวที่มีสมาชิกเจ็บป่วยเรื้อรัง: กรณีศึกษา -- บทที่ 7 บทส่งท้าย: การพยาบาลครอบครัวที่มีสมาชิกเจ็บป่วยเรื้อรัง

จินตนา สรายุทธพิทักษ์. (2558). โปรแกรมสุขภาพในโรงเรียน = School health
program (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, คณะ ครุศาสตร์, ภาควิชาหลักสูตรและการสอนสาขาวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา.


ISBN : 978-616-36-1581-7


เลขเรียกหนังสือ : WA350 จ483ป 2558


จำนวนเล่ม : พ.ศ. 2558 จำนวน 50 เล่ม

Contents:

แนวคิดและหลักการเบื้องต้น -- ความเป็นมาของโปรแกรมสุขภาพในโรงเรียนของต่างประเทศ -- ความเป็นมาของโปรแกรมสุขภาพในโรงเรียนของประเทศไทย -- ความก้าวหน้าของโปรแกรมสุขภาพในโรงเรียน -- สถานการณ์วิกฤติโปรแกรมสุขภาพในโรงเรียน -- การจัดสิ่งแวดล้อมทางสุขภาพ -- การจัดสิ่งแวดล้อมให้ถูกสุขลักษณะ -- การจัดสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อม -- การจัดบริการสุขภาพ -- การจัดอาหารและโภชนาการโรงเรียน -- การส่งเสริมสุขภาพครูและบุคลากร -- การจัดการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา -- การร่วมมือของพ่อแม่ผู้ปกครองและชุมชน -- การบริหารจัดการโปรแกรมสุขภาพในโรงเรียน

โชคชัย หมั่นแสวงทรัพย์ (บรรณาธิการ). (2559). อนามัยครอบครัว = Family health
(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ประยูรสาส์นไทยการพิมพ์.


เลขเรียกหนังสือ : WA308 อ176 2559


ISBN : 9786164235762


จำนวนเล่ม : พ.ศ. 2559 จำนวน 10 เล่ม


Contents:

ส่วนที่ 1 บทนำและความรู้เบื้องต้นในงานอนามัยครอบครัว -- บทที่ 1 บทนำ -- บทที่ 2 ผลของการเปลี่ยนแปลงของประชากร เศรษฐกิจสังคมต่อสุขภาพครอบครัว -- บทที่ 3 ตัวชี้วัดในงานอนามัยครอบครัว -- บทที่ 4 ชีวิตครอบครัวศึกษา -- ส่วนที่ 2 สุขภาพครอบครัวตามช่วงวัย. -- บทที่ 5 สุขภาพขณะตั้งครรภ์และการคลอด -- บทที่ 6 สุขภาพทารกในครรภ์. -- บทที่ 7 สุขภาพเด็กแรกเกิดและทารก -- บทที่ 8 สุขภาพเด็กปฐมวัย -- บทที่ 9 สุขภาพเด็กวัยเรียน -- บทที่ 10 สุขภาพวัยรุ่น -- บทที่ 11 สุขภาพวัยทำงาน -- บทที่ 12 สุขภาพวัยสูงอายุ -- ส่วนที่ 3 บทส่งท้ายงานอนามัยครอบครัว. -- บทที่ 13 การอบรมเลี้ยงดูเด็ก -- บทที่ 14 การวางแผนครอบครัวและการคุมกำเนิด -- บทที่ 15 โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์.

ดารุณี จงอุดมการณ์. (2564). การพยาบาลสุขภาพครอบครัว: แนวคิด ทฤษฎีและการ
ประยุกต์ใช้ในครอบครัว ระยะวิกฤต = Family health nursing : Theory and
application for families with crisis situations (พิมพ์ครั้งที่ 4 ฉบับปรับปรุง ). ขอนแก่น : มหาวิทยาลัยขอนแก่น, คณะพยาบาลศาสตร์ .


เลขเรียกหนังสือ : WY200 ด429ก 2564


ISBN : 9786163825452


จำนวนเล่ม : พ.ศ. 2564 จำนวน 30 เล่ม, พ.ศ. 2561 จำนวน 40 เล่ม

Contents:

บทที่ 1 บทนำ : พยาบาลกับการสร้างความอยู่ดีมีสุขของครอบครัว -- บทที่ 2 กรอบแนวคิดทฤษฎีชี้นำการพยาบาลครอบครัวมีสมาชิกในระยะเจ็บป่วย เจ็บปวดรุนแรง ยากลำบากและวิกฤต -- บทที่ 3 กระบวนการพยาบาลครอบครัว : การประยุกต์สู่การปฏิบัติการ -- บทที่ 4 ประเด็นคัดสรรการปฏิบัติการพยาบาลครอบครัวในระยะวิกฤต

พรฤดี นิธิรัตน์ และสายใจ จารุจิตร. (2559). กระบวนการพยาบาลกับการดูแลสุขภาพ ชุมชน. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข, โครงการสวัสดิการวิชาการสถาบัน อ
พระบรมราชชนก.


เลขเรียกหนังสือ : WY106 พ276ก 2559


ISBN : 974-616-11-2890-6


จำนวนเล่ม : พ.ศ 2559 จำนวน 50 เล่ม


Contents:

บทที่ 1 ชุมชนและสุขภาพชุมชน -- บทที่ 2 การประเมินสุขภาพชุมชน -- บทที่ 3 การวินิจฉัยสุขภาพชุมชน -- บทที่ 4 การวางแผนเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน -- บทที่ 5 การดำเนินการตามแผนเพื่อแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน -- บทที่ 6 การประเมินผลการดำเนินกิจกรรมการดูแลสุขภาพชุมชน

พิมพ์พรรณ ศิลปสุวรรณ. (2561). การพยาบาลอาชีวอนามัย : แนวคิดและ การปฏิบัติ
(พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหิดล, คณะสาธารณสุขศาสตร์, ภาค วิชาการพยาบาลสาธารณสุข.


เลขเรียกหนังสือ : WY141 พ718ก 25561


ISBN : 978-999-00-9803-7


จำนวนเล่ม : พ.ศ 2561 จำนวน 13 เล่ม, พ.ศ 2558 จำนวน 6 เล่ม

Contents:

บทที่ 1 สุขภาพการเจ็บป่วยของวัยแรงงานและงานอาชีวอนามัยในสังคมไทย --บทที่ 2 พยาบาลอาชีวอนามัยกับการดูแลสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยของผู้ใช้แรงงาน -- บทที่ 3โรคจาการประกอบอาชีพ การป้องกันและควบคุม -- บทที่ 4สิ่งก่ออันตรายแก่สุขภาพของผู้ใช้แรงงาน -- บทที่ 5การประเมินความเสี่ยงและการบริหารจัดการความเสี่ยง :ทีมงานอาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อม -- บทที่ 6 การเฝ้าระวังทางสุขภาพ :ลักษณะท่าทางและวิถีการทำงานที่มีผลต่อสุขภาพ -- บทที่ 7อุบัติเหตุในงานและการจัดการความปลอดภัย -- บทที่ 8 คุณภาพของบริการสุขภาพในสถานประกอบการ -- บทที่ 9 การส่งเสริมป้องกันสุขภาพและเสริมสร้างความปลอดภัยในการทำงาน -- บทที่10 การวางแผนและประเมินผลโครงการทางสุขภาพผู้ใช้แรงงานในสถานประกอบการ -- บทที่ 11การวิจัยเพื่อการพัฒนาคุณภาพบริการของพยาบาลในการงานอาชีวอนามัย --บทที่ 12ประเด็นปัญหาและสิ่งท้าทางในอนาคตสำหรับพยาบาลในงานอาชีวอนามัย

พูนสุข เวชวิฐาน. (2557). ทฤษฎีครอบครัวเบื้องต้น = An introduction to family theories. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.


เลขเรียกหนังสือ : HQ743 พ863ท 2557


ISBN : 9786163741394


จำนวนเล่ม : พ.ศ 2557 จำนวน 29 เล่ม

Contents:

ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์เชิงสัญลักษณ์ของครอบครัว -- ทฤษฎีหน้าที่เชิงโครงสร้างของครอบครัว -- ทฤษฎีพัฒนาการครอบครัว -- ทฤษฎีความเครียดของครอบครัว -- ทฤษฎีระบบครอบครัว --ทฤษฎีความขัดแย้งของครอบครัว -- ทฤษฎีการแลกเปลี่ยนทางสังคมของครอบครัว -- ทฤษฎีครอบครัวสตรีนิยม -- ทฤษฎีสังคมชีววิทยาของครอบครัว

วดี อัมรักเลิศ และคนอื่นๆ (บรรณาธิการ). (2558). การดูแลผู้สูงอายุผู้ที่อยู่ในภาวะพึ่งพิง และผู้ป่วยในระยะสุดท้ายในบริการปฐมภูมิ= Care for elderly, disabled, terminal-illness in primarycare. สงขลา: ภาควิชา เวชศาสตร์ชุมชน คณะ แพทยศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.


เลขเรียกหนังสือ : WT100 ก451 2558 จำนวน


ISBN : 9786162712586


จำนวนเล่ม : พ.ศ 2558 จำนวน 10 เล่ม

Contents:

อุปกรณ์ช่วยเดินสำหรับผู้สูงอายุและผู้พิการ -- การปรับสภาพบ้านและสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมกับผู้ป่วยและผู้พิการ -- การบาดเจ็บและการสูญเสียอวัยะจากการทำงาน -- การใช้ยาอย่างเหมาะสมในผู้สูงอายุ -- การประเมินสภาพจิตและเครื่องมือที่ใช้ในการวินิจฉัย -- การดูแลตนเองสู่สุขภาพดีวัยสูงอายุ -- การหกล้มในผู้สูงอายุ -- อาการที่พบบ่อยในบริบาลผู้ป่วยระยะสุดท้าย -- การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคองที่บ้าน -- การระงับปวดจากมะเร็ง

วราภรณ์ บุญเชียง. (2558). อนามัยโรงเรียน = School health (พิมพ์ครั้งที่ 2). เชียงใหม่: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.


เลขเรียกหนังสือ : WA350 ว321อ 2558

ISBN : 9789746728379


จำนวนเล่ม : พ.ศ 2558 จำนวน 50 เล่ม

Contents:

บทนำ -- แนวคิดของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ -- สถานการณ์สุขภาพและการส่งเสริมสุขภาพนักเรียนในโรงเรียน -- อนามัยโรงเรียน : แนวคิด ความสำคัญ -- บริการสุขภาพในโรงเรียน : การตรวจสุขภาพนักเรียน -- บริการสุขภาพในโรงเรียน : การประเมินภาวะการเจริญเติบโต -- บริการสุขภาพในโรงเรียน : การวัดสายตา การทดสอบการได้ยิน การตรวจสุขภาพฟัน -- การบันทึกสุขภาพนักเรียน -- การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค -- การสอนสุขศึกษาในโรงเรียน -- อนามัยสิ่งแวดล้อมของโรงเรียน -- บทบาทของพยาบาลในงานอนามัยโรงเรียน

วันเพ็ญ ทรงคำ (บรรณาธิการ). (2563). การพยาบาลอาชีวอนามัย : แนวคิดและการ ประยุกต์ใช้. เชียงใหม่ : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

เลขเรียกหนังสือ : WY141 ก492

ISBN : 9786163985040


จำนวนเล่ม : พ.ศ 2563 จำนวน 10 เล่ม

Contents:

บทที่ 1 สถานการณ์และแนวโน้มด้านสุขภาพกับการทำงาน -- บทที่ 2 แนวคิดการพยาบาลอาชีวอนามัย -- บทที่ 3 บทบาทและสมรรถนะของพยาบาลอาชีวอนามัย -- บทที่ 4 สุขศาสตร์อุตสาหกรรมและความปลอดภัยสำหรับการพยาบาลอาชีวอนามัย -- บทที่ 5 พิษวิทยาสำหรับการพยาบาลอาชีวอนามัย -- บทที่ 6 การยศาสตร์สำหรับการพยาบาลอาชีวอนามัย -- บทที่ 7 วิทยาการระบาดสำหรับการพยาบาลอาชีวอนามัย -- บทที่ 8 กฎหมายและมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติการพยาบาลอาชีวอนามัย -- บทที่ 9 จริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลอาชีวอนามัย -- บทที่ 10 การประเมินองค์กรและสถานประกอบการ -- บทที่ 11 การประเมินสุขภาพคนทำงาน -- บทที่ 12 การตรวจคัดกรองสุขภาพด้วยเครื่องมืออาชีวเวชศาสตร์ -- บทที่ 13 การสร้างเสริมสุขภาพในที่ทำงาน -- บทที่ 14 การป้องกันโรคและการบาดเจ็บจากการทำงาน -- บทที่ 15 การจัดบริการอาชีวอนามัย -- บทที่ 16 การจัดการรายกรณี -- บทที่ 17 การวิจัยทางการพยาบาลอาชีวอนามัย -- บทที่ 18 การใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการปฏิบัติการพยาบาลอาชีวอนามัย

ศิวพร อึ้งวัฒนา, และกัลยาณี ตันตรานนท์ (บรรณาธิการ). (2563). แนวคิดและหลักการ การพยาบาลชุมชน. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, คณะพยาบาลศาสตร์.

เลขเรียกหนังสือ : WY106 กร492

ISBN : 9786163984661


จำนวนเล่ม : พ.ศ 2563 จำนวน 50 เล่ม,
พ.ศ. 2561 จำนวน 31 เล่ม

Contents:

บทที่ 1 วิวัฒนาการของการสาธารณสุข และการพยาบาลชุมชน -- บทที่ 2 นโยบายและแผนที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ -- บทที่ 3 ระบบสุขภาพ ระบบบริการสุขภาพ ระบบบริการสุขภาพชุมชน การให้บริการสุขภาพระดับปฐมภูมิและบทบาทพยาบาลชุมชน -- บทที่ 4 นวัตกรรมสาธารณสุขและกลวิธีการดำเนินงาน -- บทที่ 5 แนวคิดและหลักการด้านวิทยาการระบาด -- บทที่ 6 การดำเนินงานด้านวิทยาการระบาด -- บทที่ 7 การศึกษาทางวิทยาการระบาด -- บทที่ 8 กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน : การประเมินทางการพยาบาลชุมชน -- บทที่ 9 กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน : การวินิจฉัยปัญหาสุขภาพชุมชนและการจัดลำดับความสำคัญของปัญหา -- บทที่ 10 กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน : การวางแผนการพยาบาลชุมชน -- บทที่ 11 กระบวนการพยาบาลอนามัยชุมชน : การดำเนินงานและการประเมินผลทางการพยาบาลชุมชน -- บทที่ 12 การให้บริการอนามัยครอบครัว -- บทที่ 13 การให้บริการอนามัยโรงเรียน -- บทที่ 14 การให้บริการอาชีวอนามัย -- บทที่ 15 การให้บริการอนามัยสิ่งแวดล้อม

สรญา แก้วพิทูลย์. (2564). เวชศาสตร์ครอบครัวและชุมชน = Family medicine and community medicine (พิมพ์ครั้งที่ 4). นครราชสีมา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, สำนักวิชา แพทยศาสตร์.


เลขเรียกหนังสือ : WB110 ส325ว 2564


ISBN : 9789745337152


จำนวนเล่ม : พ.ศ 2564 จำนวน 30 เล่ม,
พ.ศ. 2561 จำนวน
8 เล่ม

Contents:

บทที่ 1 หลักการด้านเวชศาสตร์ครอบครัว -- บทที่ 2 การสร้างสัมพันธภาพและการสื่อสารพื้นฐาน -- บทที่ 3 เครื่องมือในการดูแลครอบครัว -- บทที่ 4 การดูแลครอบครัวที่มีบุคคลในวัยเด็กและวัยทารก -- บทที่ 5 การดูแลครอบครัวที่มีบุคคลในวัยรุ่น -- บทที่ 6 การดูแลครอบครัวที่มีบุคคลวัยผู้ใหญ่และวัยกลางคน -- บทที่ 7 การดูแลครอบครัวที่มีบุคคลวัยชรา -- บทที่ 8 การดูแลครอบครัวที่ต้องดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง -- บทที่ 9 การดูแลครอบครัวที่ต้องดูแลผู้ป่วยระยะใกล้ชิด -- บทที่ 10 หลักการพัฒนาโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ

สุพรรณี ธรากุล (บรรณาธิการ). (2562). วิทยาการระบาดทางการพยาบาล = Epidemiology for nursing. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล, โรงพยาบาล รามาธิบดี,โครงการตำรารามาธิบดี คณะแพทยศาสตร์.

เลขเรียกหนังสือ : WA105 ว583 2562


ISBN : 9786164433199


จำนวนเล่ม : พ.ศ 2562 จำนวน 20 เล่ม

Contents:

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางวิทยาการระบาดสำหรับพยาบาล --บทที่ 2 ธรรมชาติของการเกิดโรคและหลักการป้องกันและควบคุมโรคะ องค์ความรู้สำหรับพยาบาล -- บทที่ 3 การเฝ้าระวังทางวิทยาการระบาด: ความตระหนักทางการพยาบาล -- บทที่ 4 การสอบสวนทางวิทยาการระบาด: สมรรถนะพยาบาลอนามัยชุมชน -- บทที่ 5 สถิติอนามัยทางวิทยาการระบาดที่สำคัญ --บทที่ 6 การคัดกรองทางวิทยาการระบาด: ความสำคัญของการป้องกันปัญหาสุขภาพชุมชน --บทที่ 7 การศึกษาทางวิทยาการระบาด --บทที่ 8 วิทยาการระบาดเชิงพรรณนาทางการพยาบาล --บทที่ 9 วิทยาการระบาดเชิงวิเคราะห์: การศึกษาไปข้างหน้าทางการพยาบาล --บทที่ 10 วิทยาการระบาดเชิงวิเคราะห์: การศึกษาย้อนหลังทางการพยาบาล --บทที่ 11 วิทยาการระบาดเชิงวิเคราะห์: การศึกษาภาคตัดขวางทางการพยาบาล --บทที่ 12 วิทยาการระบาดเชิงทดลองทางการพยาบาล --บทที่ 13 วิทยาการระบาดโรคติดเชื้อในชุมชนและหลักการป้องกันควบคุมโรคสำหรับพยาบาล --บทที่ 14 กรณีศึกษาการประยุกต์ใช้หลักการและวิธีการทางวิทยาการระบาดโรคติดเชื้อ: --บทที่ 1 5 วิทยาการระบาดโรคไม่ติดต่อในชุมชนและหลักการป้องกันและควบคุมโรค --บทที่ 16 กรณีศึกษาการประยุกต์ใช้หลักการและวิธีการทางวิทยาการระบาดโรคไม่ติดต่อ ภาวะน้ำหนักเกินและโรคอ้วน --บทที่ 1 7 วิทยาการระบาดโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อมและบทบาทพยาบาลอาชีวอนามัย -- บทที่ 18 วิทยาการระบาดการติดเชื้อที่สัมพันธ์กับการดูแลสุขภาพ