ตำราหลัก

การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต


ตำราการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต 9 ชื่อเรื่อง


ขวัญพนมพร ธรรมไทย. (2564). การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตในกลุ่มที่เลือกสรร :บุคลิกภาพผิดปกติ พฤติกรรมก้าวร้าว และการถูกทารุณกรรม. เชียงใหม่ :
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, คณะพยาบาลศาสตร์.


เลขเรียกหนังสือ : WY160 ข269ก


ISBN : 9786163985774


จำนวนเล่ม : พ.ศ 2564 จำนวน 30 เล่ม

Contents:

บทที่ 1 การสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัดทางการพยาบาลจิตเวช -- บทที่ 2 กระบวนการพยาบาลในการพยาบาลจิตเวช และสุขภาพจิต -- บทที่ 3 การพยาบาลผู้ที่มีบุคลิกภาพผิดปกติ -- บทที่ 4 การพยาบาลผู้ที่มีพฤติกรรมก้าวร้าว -- บทที่ 5 การพยาบาลผู้ถูกทารุณกรรม

ฉวีวรรณ สัตยธรรม, แผ จันทร์สุข และ ศุกร์ใจ เจริญสุข (บรรณาธิการ). (2562). การ
พยาบาลจิตเวชและ สุขภาพจิต (ฉบับปรับปรุง) เล่ม 1
(พิมพ์ครั้งที่ 2). นนทบุรี :
สถาบันพระบรมราชชนก, โครงการสวัสดิการวิชาการ.


เลขเรียกหนังสือ WY160 ก492 ล.1 2562


ISBN : 9786161113902


จำนวนเล่ม : พ.ศ 2562 จำนวน 50 เล่ม

พ.ศ 2558 จำนวน 50 เล่ม

พ.ศ 2557 จำนวน 11 เล่ม

Contents:

การพยาบาลผู้ที่ได้รับการบำบัดรักษาทางจิตเวช -- การบำบัดรักษาทางกาย -- การบำบัดรักษาทางจิตสังคม -- การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางจิตเวช -- อาการวิทยา -- โรควิตกกังวลและการพยาบาล -- โรคซึมเศร้าและการพยาบาล -- โรคจิตอารมณ์แปรปรวนและการพยาบาล -- โรคจิตเภทและการพยาบาล -- การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางการรู้คิด -- การพยาบาลบุคคลที่มีความผิดปกติทางเพศ -- สุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชเฉพาะทาง -- การพยาบาลจิตเวชเด็ก -- สุขภาพจิตผู้สูงอายุและการดูแล -- การพยาบาลผู้มีความผิดปกติทางจิตเวชจากการเสพสารเสพติด -- การพยาบาลผู้ป่วยนิติจิตเวช -- สุขภาพจิตชุมชนและการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่บ้าน

ฉวีวรรณ สัตยธรรม, แผ จันทร์สุข และ ศุกร์ใจ เจริญสุข (บรรณาธิการ). (2558). การ
พยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต (ฉบับปรับปรุง) เล่ม 2
(พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ :
สถาบันพระบรมราชชนก,โครงการสวัสดิการวิชาการ.


เลขเรียกหนังสือ WY160 ก492 ล.2 2558


ISBN : 9786161118419


จำนวนเล่ม : พ.ศ 2558 จำนวน 50 เล่ม

Contents:

การพยาบาลผู้ที่ได้รับการบำบัดรักษาทางจิตเวช -- การบำบัดรักษาทางกาย -- การบำบัดรักษาทางจิตสังคม -- การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางจิตเวช -- อาการวิทยา -- โรควิตกกังวลและการพยาบาล -- โรคซึมเศร้าและการพยาบาล -- โรคจิตอารมณ์แปรปรวนและการพยาบาล -- โรคจิตเภทและการพยาบาล -- การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติทางการรู้คิด -- การพยาบาลบุคคลที่มีความผิดปกติทางเพศ -- สุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวชเฉพาะทาง -- การพยาบาลจิตเวชเด็ก -- สุขภาพจิตผู้สูงอายุและการดูแล -- การพยาบาลผู้มีความผิดปกติทางจิตเวชจากการเสพสารเสพติด -- การพยาบาลผู้ป่วยนิติจิตเวช -- สุขภาพจิตชุมชนและการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่บ้าน

เนตตา วงศ์ทองมานะ (บรรณาธิการ). (2563). การพยาบาลจิตเวช: แนวทางการปฏิบัติ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สภากาชาดไทย, สถาบันการพยาบาลศรีสวรินทิรา, หน่วยวิจัยและงานวิชาการ.


เลขเรียกหนังสือ WY160 ก492 ล.2 2563


ISBN : 9786168212233


จำนวนเล่ม : พ.ศ 2563 จำนวน 20 เล่ม

พ.ศ 2562 จำนวน 20 เล่ม

Contents:

บทที่ 1 การพยาบาลเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา -- ความหมายของภาวะบกพร่องทางสติปัญญา -- อุบัติการณ์การเกิดภาวะบกพร่องทางสติปัญญา -- สาเหตุของภาวะบกพร่องทางสติปัญญา -- ลักษณะอาการของภาวะบกพร่องทางสติปัญญา -- เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะบกพร่องทางสติปัญญา -- แนวทางการรักษาภาวะบกพร่องทางสติปัญญา -- แนวทางการพยาบาลเด็กที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา -- บทที่ 2 การพยาบาลเด็กที่มีภาวะออทิซึมสเปกตรัม -- ความหมายของภาวะออทิซึมสเปกตรัม -- อุบัติการณ์ของภาวะออทิซึมสเปกตรัม -- สาเหตุของภาวะออทิซึมสเปกตรัม -- ลักษณะอาการของภาวะออทิซึมสเปกตรัม -- เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะออทิซึมสเปกตรัม -- แนวทางการรักษาภาวะออทิซึมสเปกตรัม -- แนวทางการพยาบาลเด็กที่มีภาวะออทิซึมสเปกตรัม -- บทที่ 3 การพยาบาลบุคคลที่มีความผิดปกติของการกิน -- ความหมายความผิดปกติของการกิน -- อุบัติการณ์การเกิดความผิดปกติของการกิน -- สาเหตุของความผิดปกติของการกิน -- การจำแนกโรคความผิดปกติของการกิน -- อนอเรคเชีย เนอร์โวซ่า -- บูลิเมีย เนอร์โวชา -- แนวทางการรักษาความผิดปกติของการกิน -- แนวทางการพยาบาลบุคคลที่มีความผิดปกติของการกิน -- บทที่ 4 การพยาบาลบุคคลที่มีบุคลิกภาพผิดปกติ -- ความหมายบุคลิกภาพผิดปกติ -- อุบัติการณ์การเกิดโรคบุคลิกภาพผิดปกติ -- สาเหตุของบุคลิกภาพผิดปกติ -- เกณฑ์การวินิจฉัยบุคลิกภาพผิดปกติ -- การจำแนกกลุ่มโรคบุคลิกภาพผิดปกติ -- กลุ่มบุคลิกภาพแปลกประหลาด -- กลุ่มบุคลิกภาพแบบละครและแสดงอารมณ์มาก -- กลุ่มบุคลิกภาพแบบตื่นกลัว วิตกกังวล -- แนวทางการรักษาบุคลิกภาพผิดปกติ -- แนวทางการพยาบาลบุคคลที่มีบุคลิกภาพผิดปกติ -- บทที่ 5 การพยาบาลบุคคลที่มีกลุ่มโรควิตกกังวล กลุ่มโรคย้ำคิดย้ำทำและกลุ่มโรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังจากเผชิญเหตุการณ์สะเทือนใจ -- ความหมายของความวิตกกังวลและโรควิตกกังวล -- อุบัติการณ์การเกิดโรควิตกกังวล -- สาเหตุของโรควิตกกังวล -- อาการแสดงของความวิตกกังวล -- เกณฑ์การวินิจฉัยโรควิตกกังวล -- การจำแนกกลุ่มโรค -- กลุ่มโรควิตกกังวล -- กลุ่มโรคย้ำคิดย้ำทำ และโรคอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง -- กลุ่มโรคความผิดปกติทางจิตใจภายหลังจากเผชิญเหตุการณ์สะเทือนใจ -- แนวทางการรักษา -- แนวทางการพยาบาล -- บทที่ 6 การพยาบาลบุคคลที่มีอารมณ์โกรธและพฤติกรรมก้าวร้าว -- ความหมายของอารมณ์โกรธ และพฤติกรรมก้าวร้าว -- อุบัติการณ์การเกิดอารมณ์โกรธ และพฤติกรรมก้าวร้าว -- สาเหตุการเกิดอารมณ์โกรธและพฤติกรรมก้าวร้าว -- แนวทางการรักษาบุคคลที่มีอารมณ์โกรธและพฤติกรรมก้าวร้าว -- แนวทางการพยาบาลบุคคลที่มีอารมณ์โกรธและพฤติกรรมก้าวร้าว -- บทที่ 7 การพยาบาลบุคคลที่เป็นโรคจิตเภทและโรคจิตอื่น ๆ -- ความหมายของโรคจิตเภท -- อุบัติการณ์การเกิดโรคจิตเภท -- สาเหตุของโรคจิตเภท -- ลักษณะอาการของโรคจิตเภท -- เกณฑ์การวินิจฉัยโรคจิตเภท -- แนวทางการรักษาโรคจิตเภท -- แนวทางการพยาบาลบุคคลที่เป็นโรคจิตเภท -- โรคจิตอื่น ๆ -- บทที่ 8 การพยาบาลบุคคลที่มีความผิดปกติทางการคิดรู้ -- ความหมายของความผิดปกติทางการคิดรู้ -- ลักษณะอาการของความผิดปกติทางการคิดรู้ -- ประเภทความผิดปกติของการคิดรู้ -- ภาวะสมองเสื่อม -- เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะสมองเสื่อม -- แนวทางการรักษาภาวะสมองเสื่อม -- แนวทางการพยาบาลบุคคลที่มีภาวะสมองเสื่อม -- ภาวะเพ้อ -- เกณฑ์การวินิจฉัยภาวะเพ้อ -- แนวทางการรักษาภาวะเพ้อ -- แนวทางการพยาบาลบุคคลที่มีภาวะเพ้อ

มุกข์ดา ผดุงยาม. (2561). การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชศาสตร์ = Mental health
and psychiatric nursing
. กรุงเทพฯ : นีโอดิจิตอล.



เลขเรียกหนังสือ WY160 ม614ก 2561


ISBN : 9786164788343


จำนวนเล่ม : พ.ศ 2561 จำนวน 30 เล่ม

Contents:

บทที่ 1 แนวคิด ทฤษฎีทางสุขภาพจิตและการพยาบาล -- บทที่ 2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสุขภาพจิต -- บทที่ 3 คุณลักษณะและบทบาทของพยาบาลจิตเวช -- บทที่ 4 ระบบบริการสุขภาพ -- บทที่ 5 การส่งเสริมและป้องกันปัญหาสุุขภาพจิตในบุคคลที่มีภาวะเสี่ยง-- บทที่ 6 หลักกาารขั้นตอนของการสร้างสัมพันธภาพเพื่อการบำบัด -- บทที่ 7 การช่วยเหลือบุคคลที่มีปัญหาทางจิตสังคม

ยาใจ สิทธิมงคล, พวงเพชร เกษรสมุทร, นพพร ว่องสิริมาศ, และอทิตยา
พรชัยเกตุ โอว ยอง (บรรณาธิการ). (2561).
การพยาบาล
จิตเวชศาสตร์ = Psychiatric nursing
(พิมพ์ครั้งที่ 2 ฉบับปรับปรุง
ครั้งที่ 1). นครปฐม: ภาควิชา สุขภาพจิตและการพยาบาล
จิตเวชศาสตร์ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.


เลขเรียกหนังสือ WY160 ก492 2561


ISBN : 9786162799426


จำนวนเล่ม : พ.ศ 2561 จำนวน 10 เล่ม

พ.ศ 2559 จำนวน 50 เล่ม

Contents:

บทที่ 1 สุขภาพจิต การเจ็บป่วยทางจิต และปัจจัยที่เกี่ยวข้องทางการพยาบาลจิตเวช -- บทที่ 2 ทฤษฎีพื้นฐานทางการพยาบาลจิตเวช -- บทที่ 3 การประเมินสภาพจิต -- บทที่ 4 การใช้ตนเองเพื่อการบำบัด -- บทที่ 5 สัมพันธภาพระหว่างพยาบาลและผู้ป่วยเพื่อการบำบัด -- บทที่ 6 การสื่อสารเพื่อการบำบัด -- บทที่ 7 การรักษาด้วยยาทางจิตเวชและการพยาบาล -- บทที่ 8 การรักษาด้วยไฟฟ้าและการพยาบาล -- บทที่ 9 นิเวศน์บำบัด -- บทที่ 10 พฤติกรรมบำบัด -- บทที่ 11 จิตบำบัด -- บทที่ 12 การบำบัดดูแลทางจิตเวชอย่างต่อเนื่อง -- บทที่ 13 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะบกพร่องทางสติปัญญา -- บทที่ 14 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่มีภาวะออทิซึมสเปคตรัม -- บทที่ 15 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นผู้ที่มีโรคซนสมาธิสั้น -- บทที่ 16 การพยาบาลเด็กและวัยรุ่นที่ป่วยด้วยโรคพฤติกรรมเกเร -- บทที่ 17 การพยาบาลบุคคลที่มีโรคจิตเภท -- บทที่ 18 การพยาบาลบุคคลกลุ่มโรคซึมเศร้าและกลุ่มโรคอารมณ์สองขั้ว -- บทที่ 19 การพยาบาลบุคคลที่มีกลุ่มโรควิตกกังวล กลุ่มโรคย้ำคิดย้ำทำและโรคจากเหตุสะเทือนขวัญและความเครียด -- บทที่ 20 การพยาบาลบุคคลที่มีกลุ่มโรคอาการทางกาย -- บทที่ 21 การพยาบาลบุคคลที่มีความผิดปกติของการรับประทานอาหาร -- บทที่ 22 การพยาบาลบุคคลที่มีความผิดปกติทางเพศ -- บทที่ 23 การพยาบาลบุคคลที่มีบุคลิกภาพแปรปรวน -- บทที่ 24 การพยาบาลบุคคลที่มีความผิดปกติของการรู้คิด

สายฝน เอกวรางกูร (บรรณาธิการ). (2559). การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต : ศาสตร์
และศิลป์สู่การปฎิบัติ 1
(พิมพ์ครั้งที่ 3). นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยวลัย
ลักษณ์,
สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์.


เลขเรียกหนังสือ WY160 ก492 2559


ISBN : 9789747557503


จำนวนเล่ม : พ.ศ 2559 จำนวน 13 เล่ม

พ.ศ 2558 จำนวน 10 เล่ม

Contents:

แนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต -- ลักษณะ ขอบเขต บทบาท หน้าที่ และความรับผิดชอบของพยาบาลวิชาชีพต่อการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต -- การประเมินและคัดกรองปัญหาทางจิตเวชและสุขภาพจิต -- สัมพันธ์ภาพและการสื่อสารเพื่อการบำบัด -- การให้การปรึกษาปัญทางจิตเวชและสุขภาพจิต -- กลุ่มบำบัด -- บทบาทพยาบาลวิชาชีพกับการบำบัดรักษาด้วยยาทางจิตเวช -- บทบาทพยาบาลวิชาชีพกับการรักษาด้วยไฟฟ้า -- โรคจิตกับการบำบัดทางการพยาบาล -- ภาวะซึมเศร้ากับการบำบัดทางการพยาบาล -- โรคอารมณ์สองขั้วกับการบำบัดทางการพยาบาล -- การฆ่าตัวตายกับการบำบัดทางการพยาบาล -- กลุ่มโรควิตกกังวล กลุ่มโรคย้ำคิดย้ำทำและโรคอื่นที่เกี่ยวข้อง และกลุ่มโรคความผิดปกติทางจิตใจเกี่ยวข้องกับความเครียดหรือเหตุการณ์สะเทือนใจกับการบำบัดทางการพยาบาล

สายฝน เอกวรางกูร (บรรณาธิการ). (2559). การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต : ศาสตร์ และศิลป์สู่การปฎิบัติ 2 (พิมพ์ครั้งที่ 3). นครศรีธรรมราช: มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์.


เลขเรียกหนังสือ WY160 ก492 2559


ISBN : 9789747557572


จำนวนเล่ม : พ.ศ 2559 จำนวน 30 เล่ม

พ.ศ 2558 จำนวน 10 เล่ม

Contents:

บทที่ 1 สารเสพติดกับการบำบัดทางการพยาบาล -- บทที่ 2 ความผิดปกติทางการกินกับการบำบัดทางการพยาบาล -- บทที่ 3 ความผิดปกติทางเพศกับการบำบัดทางการพยาบาล -- บทที่ 4 บุคลิกภาพผิดปกติกับการบำบัดทางการพยาบาล -- บทที่ 5 พฤติกรรมบำบัดกับการบำบัดทางการพยาบาล -- บทที่ 6 ความผิดปกติทางการรู้คิดกับการบำบัดทางการพยาบาล -- บทที่ 7 ภาวะวิกฤต ภัยพิบัติ และการบำบัดทางการพยาบาล -- บทที่ 8 จิตเวชเด้กและวัยรุ่นกับการบำบัดทางการพยาบาล -- บทที่ 9 การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิตชุมชน -- บทที่ 10 การพยาบาลนิติจิตเวชและสาระสำคัญของพระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. 2551 -- บทที่ 11 สิทธิผู้ป่วย จรรยาบรรณ จริยธรรม ความสำคัญและคุณค่าของพยาบาลวิชาชีพในการบำบัดรักษาทางจิตเวชและสุขภาพจิต

เอกอุมา อิ้มคำ. (2564). การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช : การประยุกต์ใช้กรณี
เลือกสรร
(พิมพ์ครั้งที่ 3).กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.


เลขเรียกหนังสือ : WY160 อ885ก 2564


ISBN : 9786163146830


จำนวนเล่ม : พ.ศ 2564 จำนวน 10 เล่ม

Contents:

บทที่ 1 แนวคิดหลักในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช -- บทที่ 2 การเก็บรวบรวมข้อมูล การประเมินสภาพจิตและการวิเคราะห์กลไกการเกิดโรคในผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวช -- บทที่ 3 การพยาบาลผู้รับบริการที่มีปัญหาสมาธิสั้น การเผชิญปัญหาและการสื่อสาร -- บทที่ 4 การพยาบาลผู้รับบริการที่มีความผิดปกติด้านพฤติกรรม ความคิดและการรับรู้ -- บทที่ 5 การพยาบาลผู้รับบริการที่มีปัญหาทางอารมณ์ -- บทที่ 6 การพยาบาลผู้ใช้สารเสพติด -- บทที่ 7 การพยาบาลผู้รับบริการที่มีแบบแผนการนอนหลับเปลี่ยนแปลง -- บทที่ 8 การพยาบาลผู้รับบริการที่มีภาวะเพ้อและหลงลืม -- บทที่ 9 การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชชุมชน -- บทที่ 10 การพยาบาลผู้ที่เจ็บป่วยด้วยโรคจิตเวชในช่วงที่มีการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)