หน่วยการเรียนรู้ที1

เมื่อต้องทำงานที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้า - อิเล็กทรอนิส์ ความปลอดภัยนับว่าเป็นสิ่งสำคัญ ที่ผู้ปฎิบัติงานต้องคำนึงถึงเป็นอันดับแรก ดังนั้น การรู้จักอันตรายที่เกิดจากไฟฟ้า - อิเล็กทรนิกส์ วิธีป้องกัน และทราบถึงวิธีการปฐมพยาบาลเบื่องต้นที่ถูกต้อง จะช่วยลดการสูญเสียที่อาจจะเกิดขึ้นจากเหตุการณ์ที่ไม่คาดคิดได้


สาระการการเรียนรู้

1.ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์

2. ค่าความต้านทานของร่างกายมนุษย์

3 อันตรายที่เกิดจากไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิส์ได้

4 ข้อควรปฎติบัติในการทำงานเพื่อป้องกันอันตรายที่เกิดจากอุปกรณ์ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิส์

5การปฐมพยาบาลเบื่้องต้นผู้ถูกไฟฟ้าดูด

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

1 อธิบายความปลอดภัยทางไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ได้

2 อธิบายความหมายของความต้านทานของร่างกายมนุษย์ได้

3 อธิบายอันตรายที่เกิดจากไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิส์ได้

4 อธิบายข้อควรปฎติบัติในการทำงานเพื่อป้องกันอันตรายที่เกิดจากไฟฟ้า-อิเล็กส์ได้

5 อธิบายวิธีการปฐมพยาบาลเบืื้องต้นแก่ผู้ถูกไฟฟ้าดูดได้

การคำนึงถึงความปลอดภัยก่อนที่จะทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์เป็นสิ่งสำคัญ ทั้งนี้เนื่องจากโอกาสที่จะได้รับอันตรายจากไฟฟ้า-อิเล็กทรอส์นั้นเกิดขึ้นได่เสมอ เช่น การถูกไฟฟ้าดูดมีผลทำให้เกิดการช็อก เป็นต้น ซึ่งการช็อกนี้จะเกิดขึ้นเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกายโดยปฎิกิริยาที่ร่างกายตอบสนองจะไม่สามารถควบคุมได้โดยจะทำให้กล้ามเนื้อเกิดการหดตัวอย่างรุนแรง ส่งผลให้เกิดความเจ็บปวดที่บริเวณกล้ามเนื้อนั้น ตารางที่1.1 แสดงผลกระทบที่มีต่อร่างกายมนุษย์เมื่อถูกกระแสไฟฟ้าดูดในปริมาณที่แตกต่างกัน จะสั่งเกตได้ว่า ถึงกระแสไฟฟ้าที่มีปริมาณน้อยๆ เพียงแค่ 10 มิลลิแอมแปร์ ก็อาจ ทำให้ได้รับอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ ถ้ากระแสไฟฟ้าขนาดนี้ไหลผ่านร่างกายภายในเวลาไม่กี่วินาที

ความปลอดภัยเกี่ยวกับไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์


การคํานึงถึงความปลอดภัยก่อนที่จะทํางานเกี่ยวกับไฟฟ้า-อเล็กทรอนิกส์เป็น3 โอกาสที่จะได้รับอันตรายจากไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์นั้นเกิดขึ้นได้เสมอ เช่น การช็อก (Shock) เป็นต้น ซึ่งการช็อกนี้จะเกิดขึ้นเมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกาย โดยปฏิกิจ ตอบสนองจะไม่สามารถควบคุมได้โดยจะทําให้กล้ามเนื้อเกิดการหดตัวอย่างรุนแรง ส่งผลให้ ที่บริเวณกล้ามเนื้อนั้น ตารางที่ 1.1 แสดงผลกระทบที่มีต่อร่างกายมนุษย์เมื่อถูกกระแสไฟฟ้า ที่แตกต่างกัน จะสังเกตได้ว่า ถึงแม้กระแส ไฟฟ้าที่มีปริมาณน้อยๆ เพียงแค่ 10 มิลลิแอมแปร์ ทําให้ได้รับอันตรายถึงแก่ชีวิตได้ ถ้ากระแสไฟฟ้าขนาดนี้ไหลผ่านร่างกายภายในเวลาไม่กี่วินาที

ตารางที่ 1.1 แสดงผลกระทบที่มีต่อร่างกายมนุษย์เมื่อถูกกระแสไฟฟ้าดูด - ปริมาณกระโชก

ผลกระดกเที่ไปด้วยกิจการ 1 mA หรือ น้อยกว่า

ไม่มีผลกระทบต่อร่างกาย มากกว่า 5 กาA

ทําให้เกิดการช็อก และเกิดความเจ็บปวด มากกว่า 10 mA

กล้ามเนื้อบริเวณที่ถูกกระแสไฟฟ้าดูดเกิดการหดตัว

และเกิดความเจ็บปวด มากกว่า 15 mA

กล้ามเนื้อบริเวณที่ถูกกระแสไฟฟ้าดูดเกิดการหดตัว และ

ร่างกายจะเกิดอาการเกร็ง มากกว่า 30 mA

การหายใจติดขัด และสามารถทําให้หมดสติได้ 50 ถึง 200 mA

ขาดเลือดไปเลี้ยงหัวใจ และอาจจะเสียชีวิตได้ภายในเวลา

ไม่กี่วินาที มากกว่า 200 mA

เกิดการไหม้บริเวณผิวหนังที่ถูกกระแสไฟฟ้าดูด

และหัวใจจะหยุดเต้นภายในเวลาไม่กี่วินาที ตั้งแต่ 1 A ขึ้นไป

ผิวหนังบริเวณที่ถูกกระแสไฟฟ้าดดถูกทําลายอย่างถาวร ลาน หัวใจจะหยุดเต้นภายในเวลาไม่กี่วินาที


การซื้อกอันเนื่องจากกระแสไฟฟ้าดูด จึงนับว่าเป็นอันตรายอย่างยิ่ง ถึงแม้จะเป็น ปริมาณกระแสไฟฟ้าเพียงเล็กน้อยก็ตาม อีกทั้งแรงปฏิกิริยาที่ร่างกายตอบสนอง อย่าง ไม่รู้ตัวนั้น อาจทําให้ร่างกายได้รับ บาดเจ็บมากขึ้นได้ เช่น เมื่อกล้ามเนื้อ เกิดการกระตุกอย่างรุนแรงอาจทําให้เกิด อาการสะดุ้ง ส่งผลให้อวัยวะส่วนหนึ่งส่วนใด ของ ร่างกายไปกระทบกับของมีคม หรือขยับเปลี่ยนไปยังตําแหน่งที่มีแรงดัน ไฟฟ้าสูงกว่า ซึ่งจะก่อให้เกิดอันตรายมาก ยิ่งขึ้น เป็นต้น


ค่าความต้านทานของอาการมนุษย์

เนื่องจากแรงดันไฟฟ้าทําให้เกิดกระแสไฟฟ้าไหลในวงจร ปริมาณการไหลของกระแสไฟฟ้าจึงมีค่าเท่ากับ ค่าแรงดันไฟฟ้าของวงจรหารด้วยค่าความต้านทานรวมของวงจร (I = ) ซึ่งแรงดันไฟฟ้าที่สามารถ ทําอันตรายแก่มนุษย์ได้จะมีขนาดตั้งแต่ 25 โวลต์ ขึ้นไป และโดยทั่วไปค่าความต้านทานของร่างกายมนุษย์ จะมีค่าประมาณ 10,000 โอห์ม ถึง 50,000 โอห์ม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการสัมผัสระหว่างส่วนหนึ่งส่วนใด ของร่างกายกับตัวนําไฟฟ้า ดังนั้น เราจะสามารถคํานวณหาปริมาณของกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านร่างกาย ของมนุษย์ได้ โดยทั่วไปแล้วผิวหนังของมนุษย์จะมีค่าความต้านทานค่อนข้างสูงจึงมีผลต้านทานการไหล องกระแสไฟฟ้าได้ แต่เมื่อใดก็ตามที่มีเหงื่อออกที่บริเวณผิวหนัง หรือผิวหนังเกิดบาดแผลก็จะทําให้

ต้านทานบริเวณดังกล่าวลดลง และจะกลายเป็นทางเดินของกระแสไฟฟ้าได้เป็นอย่างดี


อันตรายจากไฟฟ้จะอิเล็กทรอนิกส์


อันตรายที่สามารถเกิดขึ้นได้กับผู้ที่ทํางานเกี่ยวกับอุปกรณ์ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ อาจเกิดขึ้นในลักษณะ ต่างๆ ดังต่อไปนี้

1 การช็อก (Shock) สาเหตุเกิดจากการที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่านร่างกาย ทําให้เกิดการกระตุกบริเวณกล้ามเนื้ออย่างรุนแรง โดยเฉพาะจะเกิดขึ้นกับบริเวณ เส้นประสาท ซึ่งความรุนแรงนี้จะขึ้นอยู่กับปริมาณของกระแสไฟฟ้าที่ร่างกาย ได้รับ ผลกระทบนี้จะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับค่าความต้านทานของร่างกาย แต่ละบุคคล และยังขึ้นอยู่กับว่าอวัยวะส่วนใดของร่างกายที่จะเป็น แผลไหม้ ของกระแสไฟฟ้า (การสัมผัสในบริเวณที่ใกล้กับหัวใจจะเป็นอันตรายมากที่สุด) เนื่องจากไฟช็อต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อผิวหนังเปียกจะทําให้ความต้านทานบริเวณผิวหนังลดลงมาก หรืออาจมีค่าเป็นศูนย์เมื่อผิวหนังเกิดการถลอกหรือถูกทิ่มแทงด้วยของมีคม ซึ่งจะส่งผลทําให้เป็นทางผ่าน ของกระแสไฟฟ้าได้เป็นอย่างดี

2 แผลไหม้ (Burns) สาเหตุเกิดจากการที่มีกระแสไฟฟ้าปริมาณมากๆ ไหลผ่านร่างกายเมื่อร่างกาย ไปสัมผัสกับตัวนําไฟฟ้า หรือเมื่อร่างกายไปสัมผัสกับผิวของอุปกรณ์ใดๆ ที่มีความร้อน นอกจากนั้นความร้อน ปริมาณมากๆ ที่เกิดจากประกายไฟเมื่อเกิดมีการลัดวงจรไฟฟ้า ก็อาจทําให้เกิดแผลไหม้แก่ผู้ทําการตรวจซ่อมได้ ซึ่งในกรณีนี้จะต้องได้รับการรักษาโดยทันที

3 การระเบิด (Explosion) สาเหตุเกิดจากประกายไฟที่เกิดขึ้นไปทําให้ก๊าซที่จุดติดไฟได้ง่ายเกิดจุด ติดไฟขึ้นมา ดังนั้น เมื่อทํางานในบริเวณที่มีก๊าซที่สามารถจุดติดไฟได้ง่าย จะต้องใช้ความระมัดระวังมากยิ่งขึ้น

คน



4 การบาดเจ็บที่ดวงตา (Eye Injuries)

สาเหตุเกิดจากสายตาถูกกระทบด้วยแสงอัลตราไวโอเลตที่มีความเข้มสูง ซึ่งลําแสงนี้เกิดจากประกายไฟ ที่เกิดจากการจุดระเบิด ในกรณีนี้จะทําให้สายตาพร่ามัวชั่วขณะและรู้สึกปวดเมื่อเวลาผ่านไป นอกจากนี้แสงเลเซอร์นับว่าเป็นอันตรายต่อดวงตามากที่สุด เนื่องจากเป็นลําแสงที่มีความเข้มสูงมาก และมีอํานาจการทะลุทะลวงสูง ดังนั้น ขณะทํางานที่เกี่ยวกับแสงอัลตราไวโอเลต หรือแสงเลเซอร์ จะต้อง สวมแว่นตาที่สามารถกรองแสงได้เป็นพิเศษ

เมื่อทําการเชื่อมโลหะจะทําให้เกิด ประกายไฟขึ้นจึงต้องสวมหน้ากากกันแสงทุกครั้ง เพื่อลดความเข้มของแสงที่จะมากระทบกับ สายตาด้วยเช่นกัน นอกจากนั้นคลื่นไมโครเวฟ ที่แพร่กระจายออกมาจากท่อนําคลื่น อาจเป็น สาเหตุทําให้ตาบอดได้ จึงไม่ควรมองเข้าไปใน ทิศทางของคลื่นในระยะใกล้ๆ กับตัวกําเนิด คลื่นความถี่นั้น

5 การบาดเจ็บของร่างกาย อันเนื่องจากการได้รับคลื่นไมโครเวฟ และจากอุปกรณ์กําเนิดสัญญาณ ความถี่วิทยุ (Body Injuries from Microwave and Radio-Frequency Equipment)

พลังงานที่เกิดจากคลื่นไมโครเวฟ และอุปกรณ์กําเนิดสัญญาณความถี่วิทยุ สามารถทําอันตราย แก่มนุษย์ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณที่มีปริมาณของเลือดน้อย เช่น ดวงตา เป็นต้น สําหรับระดับ กําลังงานสูงสุดที่ผู้ปฏิบัติงานพึงระวังมีขนาดเท่ากับ 1.0 มิลลิเวปเบอร์/ตารางเซนติเมตร และควรหลีกเลี่ยง การปฏิบัติงานกับคลื่นสัญญาณ ที่มีความเข้มของกําลังงานเกินกว่า 10 มิลลิเวปเบอร์/ตารางเซนติเมตร


ข้อควรปฏิบัติในการทํางานเพื่อป้องกันอันตราย

ที่เกิดจากอุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส


ข้อควรปฏิบัติเมื่อทํางานเกี่ยวกับไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อที่จะทําให้เกิดความปลอดภัยในการทํางาน มีดังต่อไปนี้

1 ไม่ควรทําการตรวจซ่อมอปกรณ์ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ใดๆ ขณะที่ยังมีแหล่งจ่ายไฟฟ้าต่ออยู่

2 เมื่อทําการแก้ไขจุดเสียภายในอปกรณ์ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ใดๆ ไม่ควรวางมือด้านใดด้านหนึ่งกับ ตัวถังซึ่งทําด้วยโลหะ และใช้มืออีกด้านหนึ่งจับสายวัด หรือโพรบ ซึ่งถ้าโพรบที่ใช้วัดสัมผัสกับแรงดันไฟฟ้า ที่มีค่าสูง ก็จะทําให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านจากมือข้างที่สัมผัสกับแรงดันนั้นผ่านทรวงอก (ซึ่งรวมถึงหัวใจ และปอด) และสุดท้ายจะไหลไปยังแขนอีกด้านหนึ่งลงสู่สายดิน (Ground) ซึ่งหมายถึงตัวถังที่สัมผัสอยู่นั้นเอง

3 เมื่อทําการตรวจซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ใดๆ ขณะที่ยังเปิดใช้งานอยู่ ผู้ทําการตรวจซ่อม จะต้องป้องกันตัวเอง โดยไม่ยืนบนพื้นที่ชื้นแฉะ หรือพิงอยู่กับวัตถุที่เป็นโลหะใดๆ และอาจป้องกันได้โดย การสวมรองเท้ายาง หรือยืนบนเสื่อที่ทําจากพลาสติก หรือพรมเช็ดเท้า เป็นต้น

4 ตัวเก็บประจุชนิดอิเล็กโตรไลติกที่มีค่าความจุมากๆ สามารถที่จะเก็บประจุไฟฟ้าได้ในปริมาณสูง และเป็นอันตรายต่อมนุษย์ได้ ถึงแม้อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ตัวเก็บประจุชนิดนี้จะปิดใช้งานไปแล้วก็ตาม จะต้อง แน่ใจว่าตัวเก็บประจุเหล่านี้ถูกทําให้คายประจุหมดเรียบร้อยแล้ว ซึ่งสามารถทําได้โดยการนําปลายของขั้ว ทั้งสองมาแตะกับไขควง หรือลวดตัวนําที่มีฉนวนห่อหุ้มอยู่

5 สายวัด หรือโพรบ จะต้องได้รับการห่อหุ้มด้วยฉนวนเป็นอย่างดี นอกจากจะป้องกันอันตราย ที่อาจจะเกิดกับผู้ใช้แล้ว ยังเป็นการป้องกันการลัดวงจรระหว่างจุดสองจุด ซึ่งเกิดจากการสัมผัสของสายวัด หรือโพรบที่ไม่มีฉนวนห่อหุ้ม และส่งผลให้เกิดความเสียหายแก่วงจรเพิ่มขึ้นไปอีก

6 ต้องปิดสวิตช์อุปกรณ์ไฟฟ้า อิเล็กทรอนิกส์ และถอดปลักออกทุกครั้งก่อนที่จะทําการเปลี่ยน ชิ้นส่วนใดๆ ทั้งนี้เนื่องจากอุปกรณ์บางอย่างถึงแม้จะปิดสวิตช์ไปแล้วก็ยังมีแรงดันไฟฟ้าตกค้างอยู่ ส่วนอปกรณ์ที่ทําให้เกิดความร้อน เช่น ตัวต้านทานบางชนิด จะต้องทิ้งไว้ชั่วขณะหนึ่งหลังจากปิดสวิตช์แล้ว เพื่อให้เย็นตัวลง

7 ไม่ควรสวมใส่กําไล แหวน หรือนาฬิกา ขณะทําการตรวจซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ใดๆ ทั้งนี้เนื่องจากสิ่งของเหล่านี้มีค่าความต้านทานต่ํา และเป็นสื่อนํากระแสไฟฟ้าได้ดี

8 ก่อนทําการตรวจซ่อมอุปกรณ์ไฟฟ้า-อิเล็กทรอนิกส์ใดๆ จะต้องตรวจสอบสภาพทั่วไปว่าอุปกรณ์ ส่วนมีการสึก มีรอยร้าว มีการไหม้ของสาย หรือการแตกของปล็กหรือไม่ ถ้าตรวจพบให้ปิดสวิตช จากนั้นให้เปลี่ยนอุปกรณ์เหล่านั้นให้อยู่ในสภาพดีก่อน