Faculty and Staff (คณาจารย์และเจ้าหน้าที่)
รองศาสตราจารย์ ดร. สาวิตรี วทัญญูไพศาล
ข้าราชการพลเรือนดีเด่น (ครุฑทองคำ) ประจำปี พุทธศักราช 2562
ผู้ปฏิบัติงานดีเด่นระดับส่วนงาน ประจำปี พ.ศ. 2552 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
รางวัลชมเชย กลุ่มงานวิจัย/พัฒนา รางวัลนวัตกรรมเทคโนโลยีประจำปีพ.ศ. 2543 เรื่อง การตรวจสอบเชื้อแบคทีเรียบนผิวโลหะด้วยเทคนิคการย้อมสารเรืองแสงแบบต่าง ๆ
รางวัลชมเชย กลุ่มงานวิจัย/พัฒนา รางวัลนวัตกรรมเทคโนโลยีประจำปีพ.ศ. 2542 เรื่อง การพัฒนาและการตรวจสอบชีวฟิล์มของเชื้อแบคทีเรียสายพันธุ์เดี่ยวและสายพันธุ์ผสมบนพื้นผิวเหล็กกล้าไร้สนิม
รองศาสตราจารย์ ไพรินทร์ กปิลานนท์
ข้าราชการพลเรือนดีเด่น (ครุฑทองคำ) ประจำปี พุทธศักราช 2561
รองศาสตราจารย์ ดร. สมโภชน์ น้อยจินดา
ข้าราชการพลเรือนดีเด่น (ครุฑทองคำ) ประจำปี พุทธศักราช 2560
รองศาสตราจารย์ ดร. กิตติ โพธิปัทมะ
ข้าราชการพลเรือนดีเด่น (ครุฑทองคำ) ประจำปี พุทธศักราช 2556
ผู้ปฏิบัติงานดีเด่น ระดับส่วนงาน ประจำปี 2556 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
Honorable mention research award (2011), Texas Branch American Society for Microbiology, USA
ศาสตราจารย์ ดร. วิไล รังสาดทอง
รางวัลนวัตกรรมเทคโนโลยี ประเภทข้าราชการรางวัลที่ 2 เรื่อง “กระบวนการผลิต 2-อะซิทิล-1-ไพโรลีนซึ่งเป็นสารสำคัญที่ให้กลิ่นข้าวหอมมะลิโดยกระบวนการทางชีวภาพ”
ผู้ปฏิบัติงานดีเด่น ระดับส่วนงาน ประจำปี พ.ศ. 2554 (คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์)
ผู้ปฏิบัติงานดีเด่น ระดับมหาวิทยาลัย ประจำปี พ.ศ. 2554 (Staff of the Year)
รางวัลนักวิจัยดีเด่นของมหาวิทยาลัยซึ่งมีผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล ISI ซึ่งมีคะแนนรวม impact factor สูงสุด ประจำปี พ.ศ. 2555 (รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1)
รางวัลนักวิจัยดีเด่นของมหาวิทยาลัยซึ่งได้รับการอ้างอิงผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่อยู่ในฐานข้อมูล ISI สูงสุด ตามมาตรฐานการประเมินมหาวิทยาลัยโลกโดย THE ประจำปี พ.ศ. 2556 (รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2)
Award for Outstanding Dissertation in the Field of Biotechnology “; Topic: “The production of 2-acetyl-1-pyroline, a major component of aromatic rice flavors, by Acremoniumnigricans”
Award for the Best Poster paper, 3rd Prize “Production of Fungal Chitosan and Application for Apple Juice Clarification”
Student and Alumni (นักศึกษาและศิษย์เก่า)
รางวัลชมเชย ประเภทนักศึกษา โครงการรางวัลนวัตกรรมเทคโนโลยี “การประยุกต์ใช้ไคโทซานจากเชื้อรา Absidiaglaucavar. paradoxa IFO 4007 ในการทำให้น้ำแอปเปิลใส” โดยนางสาวนิจรินทร์ วงษ์วัฒนกุล นางสาวนิลดา กองเพียร และนางสาวพัชรา โชติวรานนท์
รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 สาขาวิทยาศาสตร์กายภาพและชีวภาพ ในการแข่งขัน “โครงการรางวัลนวัตกรรมแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 4” ในโครงการ “ผลิตภัณฑ์คล้ายเส้นสปาเกตตีจากแป้งข้าวเจ้าโดยกระบวนการเอ็กซทรูชัน” โดยนางสาวพรพิมล เสรีวัฒน์ นางสาวศิริรัตน์ สุเมธลักษณ์ และนางสาวจันทร์กวี สุทธิพินิจธรรม
รางวัลชมเชย ประเภทนักศึกษา ในโครงการรางวัลนวัตกรรมเทคโนโลยี โครงการ “การผลิตเส้นหมี่โดยกระบวนการเอ็กซทรูชัน” โดยนางสาวประภาศิริ รักวิโรจน์สุข และนางสาวเบญจวรรณ บุญธิมา
รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ รางวัลที่ 2 เรื่อง ผลของปัจจัยในการทอดและการผลิตเพลเลตโดยกระบวนการเอ็กซทรูชันต่อคุณสมบัติของขนมขบเคี้ยวหลังการทอด โดยนางสาววารวิชนี ลอปกุลเกียรติ
The Best Oral Presentation in Section 30: Energy and Environmental Engineering. โดยนางสาวพิมพ์ใจ นามศรี เรื่อง Effect of Hydraulic Retention Time on Biogas Production from Pineapple Pulp and Peel in Plug-flow Reactor
น.ส. พิมพ์ใจ นามศรี ได้รับได้รับรับรางวัลวิทยานิพนธ์ดีเยี่ยม สาขาวิทยาศาสตร์ชีวภาพประจำปี 2554 วิทยานิพนธ์เรื่อง การผลิตก๊าซชีวภาพจากเปลือกและพัลล์สับปะรดเหลือทิ้งจากการแปรรูปโดยกระบวนการหมักไม่ใช้ออกซิเจนแบบท่อไหล
น.ส. โสภิดา ก่อเกิด ได้รับรางวัล ผลงานวิจัยดีเด่น ในงานสัมมนาโครงการภาคีบัณฑิตฯ ประจำปี 2555 วิทยานิพนธ์เรื่อง การศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการผลิตขนมขบเคี้ยวผสมเส้นใยและสารแอนติออกซิแดนท์จากเศษผลไม้จากโรงงานแปรรูปอาหารโดยกระบวนการเอ็กซทรูชัน
น.ส. พิมพ์ใจ นามศรี ได้รับได้รับรางวัลทะกุจิ วิทยานิพนธ์ดีเด่นระดับปริญญาโท ประจำปี 2555 วิทยานิพนธ์เรื่อง การผลิตก๊าซชีวภาพจากเปลือกและพัลล์สับปะรดเหลือทิ้งจากการแปรรูปโดยกระบวนการหมักไม่ใช้ออกซิเจนแบบท่อไหล
นางสาวโสภิดา ก่อเกิด รางวัลชมเชย การประกวดผลงานวิทยานิพนธ์ ประจำปี 2555ผลงานเรื่อง ผลของปัจจัยการผลิตด้วยกระบวนการเอกซทรูชันที่มีต่อสมบัติของขนมขบเคี้ยวที่เป็นแหล่งของไฟเบอร์
นางสาวอุษราพรรณ พิธานธนกุล ได้รับรางวัลงานวิจัยระดับเหรียญทอง(Gold Medal) จากการประกวดสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมนักศึกษาประจำปี 2557 ผลงานเรื่องการเตรียมอนุภาคซีนขนาดนาโนที่มีการกักเก็บสารแกมมาโอไรซานอลและการประยุกต์ใช้ในการผลิตเครื่องสำอาง