แผนกวิชาช่างเชื่อมโลหะ

การศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)  ระยะเวลาในการศึกษา ๓ ปีการศึกษา

เน้นการศึกษาเกี่ยวกับ 

การนำหลักการทางทฤษฎีและการปฏิบัติมารวมกันทำให้เกิดทักษะและมีความชำนาญ ด้านการเชื่อมโลหะ การตัดโลหะด้วยแก๊ส การนำลวดเชื่อมชนิดต่าง ๆ มาใช้กับโลหะอย่างถูกวิธี   การ ทดสอบความแข็งแรงของวัสดุ โดยใช้เครื่องมือที่ทันสมัยมาวิเคราะห์ การชุบเคลือบ ผิวโลหะด้วยความร้อนและเคมี การออกแบบ และเขียนแบบเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์ การออกแบบโครงสร้างโลหะตามหลักวิศวกรรมการเชื่อม และสามารถเชื่อมประกอบงานโลหะทุกชนิดได้

ผู้สำเร็จในสาขาวิชานี้ 

สามารถประกอบอาชีพ และศึกษาต่อในระดับที่สูงได้ หากต้องการเข้าสู่การทำงาน มีอาชีพที่รองรับ เช่นรับราชการตามหน่วยงานของรัฐ เข้าสู่โรงงานอุตสาหกรรม เป็นพนักงานช่างซ่อมบำรุงโรงงานอุตสาหกรรม โรงผลิตและประกอบรถยนต์ ช่างเชื่อมท่ออุตสาหกรรม  ท่อส่งน้ำมัน ท่อส่งก๊าซ การออกแบบ ประกอบอาชีพอิสระ ช่างเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์งานผลิตภัณฑ์โลหะ ของชำร่วย การตกแต่งอาคารบ้านเรือน งานโครงสร้างโลหะ สามารถเรียนต่อจนถึงระดับปริญญาในสถาบันการศึกษาทั้งของรัฐบาลและเอกชน เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯ  และ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ เป็นต้น


 การศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)  ระยะเวลาในการศึกษา ๒ ปีการศึกษา

สาขางานเทคนิคการเชื่อมโลหะ 

เน้นการศึกษาเกี่ยวกับ 

การนำหลักการทางทฤษฎีและการปฏิบัติมารวมกันทำให้เกิดทักษะและมีความชำนาญ ด้านการเชื่อมโลหะ การตัดโลหะด้วยแก๊ส การนำลวดเชื่อมชนิดต่าง ๆ มาใช้กับโลหะอย่างถูกวิธี   การทดสอบความแข็งแรงของวัสดุ โดยใช้เครื่องมือที่ทันสมัยมาวิเคราะห์ การชุบเคลือบ ผิวโลหะด้วยความร้อนและเคมี การออกแบบ และเขียนแบบเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์ การออกแบบโครงสร้างโลหะตามหลักวิศวกรรมการเชื่อม และสามารถเชื่อมประกอบงานโลหะทุกชนิดได้

ผู้สำเร็จในสาขาวิชานี้ 

สามารถประกอบอาชีพ และศึกษาต่อในระดับที่สูงได้ หากต้องการเข้าสู่การทำงาน มีอาชีพที่รองรับ เช่นรับราชการตามหน่วยงานของรัฐ เข้าสู่โรงงานอุตสาหกรรม เป็นพนักงานช่างซ่อมบำรุงโรงงานอุตสาหกรรม โรงผลิตและประกอบรถยนต์ ช่างเชื่อมท่ออุตสาหกรรม  ท่อส่งน้ำมัน ท่อส่งก๊าซ การออกแบบ ประกอบอาชีพอิสระ ช่างเขียนแบบด้วยคอมพิวเตอร์งานผลิตภัณฑ์โลหะ ของชำร่วย การตกแต่งอาคารบ้านเรือน งานโครงสร้างโลหะ สามารถเรียนต่อจนถึงระดับปริญญาในสถาบันการศึกษาทั้งของรัฐบาลและเอกชน เช่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล  มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าฯ  และ มหาวิทยาลัยต่าง ๆ เป็นต้น

ครูผู้สอน (Teachers)

นายไกรษร มีเกิดมูล

หัวหน้าแผนกวิชาช่างเชื่อมโลหะ

ข้าราชการครู

นายธวัชชัย แก้วอินหน่อ

ครูสาขาวิชาช่างเชื่อมโลหะ

ข้าราชการครู

นายกัมพล มะโนกิจ

ครูสาขาวิชาช่างเชื่อมโลหะ

ข้าราชการครู

นายกฤษดา ไชยปัญหา

ครูสาขาวิชาช่างเชื่อมโลหะ

ข้าราชการครู

นายไทรทอง เรืองจำรัส

ครูสาขาวิชาช่างเชื่อมโลหะ

พนักงานราชการ (ครู)

นายอิสรา คล่ำคง

ครูสาขาวิชาช่างเชื่อมโลหะ

ครูพิเศษสอน

ธนภัทรพล เเทนรอด

ครูสาขาวิชาช่างเชื่อมโลหะ

ครูพิเศษสอน

นางสาวอทิตยา หน่อคำ

ครูสาขาวิชาช่างเชื่อมโลหะ

ครูพิเศษสอน

นางสาวจารุพรรณ ทับผา

ครูสาขาวิชาช่างเชื่อมโลหะ

ครูพิเศษสอน

หน้าที่และความรับผิดชอบ