Curriculum  Vitae

**บุคคลภายนอกห้ามทำการคัดลอกข้อมูลก่อนได้รับอนุญาต**

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เธียรชัย พันธ์คง

(Asst. Prof. Dr.Thienchai  Phankhong)

ชื่อ-สกุล : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เธียรชัย พันธ์คง

ตำแหน่ง : หัวหน้าสาขาวิชาผู้ประกอบการฐานนวัตกรรมและการออกแบบ

สังกัด : คณะบริหารธุรกิจ

เบอร์โทร : 074-200300

E-Mail : thienchai@hu.ac.th

ความเชี่ยวชาญ : 

- Productivity Improvement

- Design Thinking for Innovation

- Digital Marketing & Branding

- Agricultural Business

ประวัติการศึกษา

ประวัติการทำงาน

ประสบการณ์สอน

ผลงานวิจัยหรือผลงานทางวิชาการในรอบ 5 ปี (2560 - 2565) 

1. การบริหารจัดการธุรกิจการแสดงหนังตะลุงกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม: กรณีศึกษาหรังตะลุงนครินทร์ ชาทอง


2. การศึกษาแนวทางการวางแผนกลยุทธ์การตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์ข้าวเหนียวดำนอำเภอสิงหนครและอำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา


3. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยวในพื้นที่ของคนในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคใต้ (สงขลา นครศรีธรรมราช พัทลุง ตรัง และสตูล)


4. โปรแกรมการท่องเที่ยวเพื่อเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและการจัดการเศรษฐกิจชุมชนในจังหวัดพัทลุง และจังหวัดสตูล


5. การวิเคราะห์ต้นทุน ผลตอบแทน และประสิทธิภาพการผลิตผักปลอดสารพิษ ในตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา


6. การศึกษาแนวทางการวางแผนกลยุทธ์การตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์ข้าวเหนียวดำในอำเภอสิงหนครและอำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา


7. ความคิดเห็นและพฤติกรรมการใช้บริการห้างสรรพสินค้าของผู้บริโภคในจังหวัดสงขลา


8. ศึกษาปัญหาและความต้องการ นวัตกรรมการเรียนรู้ สู่การเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้ของเทศบาลนครหาดใหญ่


9. การศึกษาแนวทางการวางแผนกลยุทธ์การตลาดสำหรับผลิตภัณฑ์ข้าวอินทรีย์ในอำเภอระโนด จังหวัดสงขลา


10. คลองเตยลิงก์ : การวิจัยและพัฒนาเทศบาลนครหาดใหญ่สู่การเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้


11. รูปแบบการพัฒนาศักยภาพการเป็นผู้ประกอบการของผู้สูงวัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลในการบริหารจัดการธุรกิจในยุควิถีชีวิตอนาคต


12. การจัดการทุนทางวัฒนธรรมเพื่อยกระดับเศรษฐกิจชุมชนและสำนึกท้องถิ่น

เอกสารทางวิชาการ 

1. หนังสือ "ไคเซ็น(kaizen) ทุกคนทำได้ทำง่าย ทำเลย"


2. พ็อกเก็ตบุ๊คส์ "ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญก็พัฒนางานได้"


3. พ็อกเก็ตบุ๊คส์ "หมดตัวไม่ใช่เรื่องใหญ่ แต่ถ้าหมดใจอะไรก็เหลือ"


4. เธียรชัย พันธ์คง และสิริยากร บุญส่ง. (2565). แนวทางกลยุทธ์ส่วนประสมทางการตลาดข้าวอินทรีย์ของเกษตรกร ในอําเภอระโนด จังหวัดสงขลา. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาตแิละนานาชาติครั้งที่ 13 ณ มหาวิทยาลัยหาดใหญ่ วันที่ 12 พฤษภาคม 2565, หน้า 3287-3298.3


5. Phankhong, T., Bakar, A., Julienti, L., & Poespowidjojo, D. A. L. (2020). Examining the Mediating Role of Innovativeness on the Relationship between Innovation Strategy, Atmosphere, Culture and Performance of Hotel Industry in Thailand: A Pilot Study. Annals of Contemporary Developments in Management & HR (ACDMHR), 2(2), 29-39.


6. Phankhong, T., Julienti L.A. B. and Poespowidjojo, D. A.L. (2017). The Mediating effect of Innovativeness on Innovation Strategy, Atmosphere, Culture and Organizational Performance: Proposed theoretical Framework. International Journal of Economic Research, 14(2017), pp. 359-369.


7. เธียรชัย พันธ์คง, ศิริรักษ์ จวงทอง และสุชาดา สุวรรณขำ. (2559). การบูรณาการการแสดงหนังตะลุงกับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม: กรณีศึกษา หนังตะลุงนครินทร์ ชาทอง. วารสารมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 33(3) ก.ย.- ธ.ค., 222-240.


8. เธียรชัย พันธ์คง, อมรรัตน์ ชุมทอง และวรพัฒน์ สายสิญจน์. (2558). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อข้าวเหนียวดำในอำเภอสิงหนครและอำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 35(2) เม.ย. - มิ.ย., 18-29.


9. เธียรชัย พันธ์คง,จตุรภัทร จันทร์ทิตย์ และแก้วคณิต สุวรรณอ่อน. (2558). การวิเคราะห์ต้นทุน ผลตอบแทน และประสิทธิภาพการผลิตผักปลอดภัยจากสารพิษในตำบลบางเหรียง อำเภอควนเนียง จังหวัดสงขลา. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปีที่ 7 ฉบับที่ 13 เดือน มกราคม-มิถุนายน.


10. เธียรชัย พันธ์คง, ปาริฉัตร สิงห์ศักดิ์ตระกูล, ธวัชชัย ดวงพัฒนา และจิรวัฒน์ นนทิการ. (2556). การพัฒนาโปรแกรมการท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้การจัดการเศรษฐกิจชุมชนในจังหวัดสตูล. วารสารหาดใหญ่วิชาการ. ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 เดือน กรกฎาคม-ธันวาคม พ.ศ.2556

หลักสูตรฝึกอบรมที่มีความเชี่ยวชาญ 

1. การยกระดับ 5ส เพื่อการเพิ่มผลผลิต


2. การพัฒนางาน ด้วยแนวคิดไคเซ็น (Kaizen)


3. 7 wastes และการลดต้นทุนแบบทุกคนมีส่วนร่วม


4. กิจกรรมกลุ่มคุณภาพเพื่อการพัฒนางาน (QCC)


5. Growth Mindset