ระบบเฝ้าระวังสำนักระบาดวิทยา กระทรวงสาธารณสุข 

เอกสารวิชาการตีพิมพ์ เผยแพร่ สำนักระบาดวิทยา 

แจ้งเหตุการณ์ที่มีความสำคัญ (DCIR) หรือโรคและภัยสุขภาพภายในจังหวัด

มาตรฐานและแนวทางปฏิบัติงานทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT)

ประเมินมาตรฐาน SAT JIT_ระนอง.xlsx

รายงาน D506 / โปรแกรมระบาดวิทยาและคู่มืองานระบาดที่สำคัญ

Guideline_การพัฒนาระบบการรายงานโรคติดต่อ_Final_21Sep2023.pdf
การใช้งานโปรแกรม Digital 506_Uncle Too_v3_21Sep2013.pdf
รหัสโรค506_2023_21Sep2023.pdf
Guideline_การใช้งาน Syndromic_Final.pdf
CODE 506_21Sep2023.xlsx
Guideline_D506 WebPortal_for User_21Sep2023.pdf
ชุดโครงสร้างข้อมูล D506_21Sep2023.xlsx

ระบบรายงานการเฝ้าระวังโรค 506 

เป็นระบบที่ได้รับความร่วมมือจากสำนักงานสาธารณสุขอำเภอ โรงพยาบาล และสถานีอนามัย (โรงพยาบาลรัฐทุกแห่ง
โรงพยาบาล/คลินิกเอกชนยังไม่ครอบคลุมทั้งหมด) ในจังหวัดระนอง และ จังหวัดใกล้เคียง ในการเฝ้าระวังโรค/ภัย ที่อาจเกิดการระบาดได้
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อการป้องกันควบคุมโรค/ภัย เป็นหลัก มิใช่เป็นรายงานสถิติของโรคนั้นๆ [ส่วนใหญ่ ใช้นิยามผู้ป่วยเป็น "ผู้ป่วยที่สงสัย(suspect)" ไม่ใช่ "
ผู้ป่วยที่ยืนยัน(confirm)" โปรดดูนิยามในการเก็บข้อมูลประกอบการใช้ข้อมูลด้วย]


โปรแกรม R506 V4.16 (01/04/2565) Cr.R506 กับลุงตู่

Download Here 

เป็นโปรแกรมเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และแสดงรายงานทางระบาดวิทยา พัฒนาโดยสำนักระบาดวิทยา และจังหวัดสงขลาได้นำมาเพิ่มเติมเมนูการตรวจสอบข้อมูล เพื่อเน้นให้ข้อมูลจาก R506 มีความถูกต้องมากที่สุดที่จะชื่อถือให้ได้ และรายละเอียดอื่นๆ ตามที่จังหวัดต่างๆร้องขอ แต่ไม่ได้รับการพัฒนาเพิ่มเติม โดยยึดโปรแกรมหลักจากสำนักระบาดวิทยา 

โปรแกรม R506 V4.15.02 (27/12/2565) 

Download Here 

เป็นโปรแกรมเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และแสดงรายงานทางระบาดวิทยา     สสจ.ระนอง พัฒนาโดยสำนักระบาดวิทยา

โปรแกรม R506 V4.11 on Drive D 

Download Here 

เป็นโปรแกรม ที่ปรับปรุงมาจาก โปรแกรม R506 Version 4.10 ของสำนักระบาดวิทยา ให้มีความสามารถติดตั้งใช้งานบนDrive D ซึ่งหน่วยงานระดับอำเภอหรือหน่วยบริการสามารถนำข้อมูลทั้งหมดจาก สสจ. มาใช้วิธิเคราะห์ข้อมูลได้ 

Epi Info 3.5.4 

Download Here 

เป็นโปรแกรมที่จำเป็นต้องลงอีกโปรแกรมหนึ่งที่ใช้ควบคู่กับโปรแกรม R506 โดยเฉพาะเครื่องที่ใช้ Access 2013 ขึ้นไป และต้องลงใน Drive C เท่านั้น มิเช่นนั้นจะไม่สามารถรับ-ส่งข้อมูล R506 ได้ 

เป็นคู่มือการใช้งานโปรแกรม R506 Version 4.15.XX รองรับโปรแกรม R506 Version 4.15 เป็นต้นไป 

เป็นคู่มือการใช้งานโปรแกรม R506 Version 4.14 Edit 1 จัดทำโดยนายอัฐพงค์ คงช่วย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา 

เป็นคู่มือการการใช้งานโปรแกรม Epi Map ซึ่งเป็นโปรแกรมการนำเสนอข้อมูลเป็นแผนที่ สำหรับโปรแกรม R506 ตั้งแต่การติดตั้งโปรแกรม การเรียกใช้ข้อมูล ตลอกจนถึงการเขียนแผนที่รายหมู่บ้าน และแผนที่เขตรับรับชอบแยกรายสถานบริการ จัดทำโดยนายอัฐพงค์ คงช่วย งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสงขลา 

หนังสือนิยามโรคและแนวทางการรายงานโรคติดต่ออันตรายและโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังในประเทศไทย ฉบับปรับปรุง ปี 2563 

คู่มือมาตรฐานและแนวปฏิบัติงาน SAT&JIT ปี2563 ซึ่งจะนำมาใช้ประมาณทีม JIT&SAT ของ สสจ. และทีม CDCU ของแต่ละอำเภอ(SRRT เดิม) โดยเริ่มการดำเนินงานปี 2565 ประเมิน ปี 2566 เป็นต้นไป 

คู่มือการเฝ้าระวัง คัดกรอง และสอบสวนโรคและภัยสุขภาพที่สำคัญในเรือนจำ 

คู่มือปฏิบัติการโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา.pdf
คู่มือโรคเมลิออยด์_paper.pdf
แนวทางการรายงานโรคติดต่ออันตรายและโรคติ.pdf

เงื่อนไขการออกสอบสวนโรคระดับต่างๆ ตามคู่มือนิยามและแนวทางการรายงานโรคติดต่ออันตรายและโรคติดต่อที่ต้องเฝ้าระวังในประเทศไทย 

แนวทางการตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลในรายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ปี2565 

หลักเกณฑ์การสนับสนุนค่าตรวจวิเคราะห์โดยกองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค ฉบับเดือน มกราคม 2563 เผยแพร่ในเว็บไซต์กองระบาดวิทยา 

ดาวน์โหลด

เอกสารประกอบการตรวจราชการ กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ

ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อ

ระบบเฝ้าระวังโรค โรคเอดส์

แบบรายงานต่างๆที่ใช้ในการสอบสวนโรค

แบบฟอร์ม ในงาน SRRT

กลุ่มโรคติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง

19 ไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal Meningitis) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

28 ไข้สมองอักเสบ (Encephalitis) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

29 ไข้สมองอักเสบเจแปนนิส (Japanese B encephalitis) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

54 เยื่อหุ้มสมองอักเสบไม่ระบุเชื้อ (Meningitis unspecified) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

55 เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากพยาธิ (Eosinophilic Meningitis) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

กลุ่มโรคติดเชื้อที่นำโดยแมลง

26 ไข้เลือดออก (Dengue haemorrhagic fever) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

27 ไข้เลือดออกช็อค (Dengue shock syndrome) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

30 ไข้มาลาเรีย (Malaria) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

44 สครับไทฟัส (Scrub typhus) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

66 ไข้เด็งกี่ (Dengue fever) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

68 ลิซมาเนีย (Leishmaniasis) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

76 เท้าช้าง (Lymphatic Filariasis) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

84 ไข้ปวดข้อยุงลาย (Chikungunya fever) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

87 ไวรัสซิกา (Zika virus disease) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

กลุ่มโรคติดเชื้อระบบทางเดินหายใจ

15 ไข้หวัดใหญ่ (Influenza) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

31 ปอดอักเสบ (Pneumonia) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

32 วัณโรคปอด (Tuberculosis Pulmonary) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

33 วัณโรคเยื่อหุ้มสมอง (Tuberculosis meningitis) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

34 วัณโรคระบบอื่นๆ (Tuberculosis other organs) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

74 ไข้ดำแดง (Scarlet fever) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

91 ไข้หวัดนก (Avian Influenza) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

92 ไวรัสโคโรนา 2019 (Coronavirus disease 2019)

กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน

42 พิษสุนัขบ้า (Rabies) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

43 เลปโตสไปโรสิส (Leptospirosis) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

45 แอนแทรกซ์ (Anthrax) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

46 ทริคิโนสิส (Trichinosis) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

82 สเตร็ปโตคอคคัสซูอิส (Streptococcus suis) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

83 บรูเซลโลสิส (Brucellosis) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

กลุ่มโรคติดเชื้อที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน

16 ไข้หัดเยอรมัน (Rubella) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

17 สุกใส (Chickenpox) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

20 โปลิโอ (Poliomyelitis) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

21 ไข้หัด (Measles) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

22 ไข้หัดมีโรคแทรกซ้อน (Measles with complication) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

23 คอตีบ (Diphtheria) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

24 ไอกรน (Pertussis) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

25 บาดทะยัก (Tetanus) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

52 คางทูม (Mumps) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

53 บาดทะยักในเด็กแรกเกิด (Tetanus neonatorum) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

65 กล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉียบพลัน (Acute Flaccid Paralysis) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

78 อาการไม่พึงประสงค์หลังรับวัคซีน (AEFI) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

93 ไข้หัดเยอรมันแต่กำเนิด (Congenital rubella syndrome) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

กลุ่มโรคติดเชื้อระบบทางเดินอาหารและน้ำ

01 อหิวาตกโรค (Cholera) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

02 อุจจาระร่วงเฉียบพลัน (Acute Diarrhea) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

03 อาหารเป็นพิษ (Food Poisoning) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

05 บิดชิเกลโลซีส (Shigellosis Bacillary Dysentery) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

06 บิดมีตัว (Amoebic Dysentery) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

07 ไข้เอนเทอริค (Enteric fever) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

08 ไข้ไทฟอยด์ (Typhoid) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

09 ไข้พาราไทฟอยด์ (Paratyphoid) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

10 ไวรัสตับอักเสบไม่ระบุชนิด (Viral Hepatitis unspeccified) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

11 ไวรัสตับอักเสบ เอ (Acute hepatitis A Virus) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

70 ไวรัสตับอักเสบ อี (Hepatitis E) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

75 พยาธิใบไม้ตับ (Liver fluke) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

85 โบทูลิซึม (Botulism) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

กลุ่มโรคติดเชื้อจากการสัมผัส

14 ตาแดงจากไวรัส (Viral conjunctivitis) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

18 ไข้ไม่ทราบสาเหตุ (Fever of unknow origin) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

35 เรื้อน (Leprosy) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

71 มือเท้าปาก (Hand foot and mouth) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

72 เมลิออยโดสิส (Melioidosis) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

90 ไข้เอนเทอโรไวรัส (Enterovirus Fever) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

94 ฝีดาษวานร (Monkeypox)

กลุ่มโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

12 ไวรัสตับอักเสบ บี (Acute hepatitis B Virus) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

13 ไวรัสตับอักเสบ ซี (Acute hepatitis C Virus) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

37 ซิฟิลิส (Syphilis) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

            ซิฟิลิสแต่กำเนิด (Congenital syphilis) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

38 หนองใน (Gonorrhoea) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

39 หนองในเทียม (Non Gonococcal Urethritis) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

40 แผลริมอ่อน (Chancroid) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

41 กามโรคต่อมน้ำเหลือง (Lymphogranuloma venereum) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

69 ไวรัสตับอักเสบ ดี (Hepatitis D) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

79 เริมที่อวัยวะเพศและทวารหนัก (Anogenital Herpes ) _ _ _ _ _ _ _ ดาวน์โหลด

80 หูดอวัยวะเพศและทวารหนัก (Condyloma Acuminata)


รายชื่อผู้ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพทีมปฏิบัติการเฝ้าระวังสอบสวนโรคในพื้นที่เพื่อการเฝ้าระวังและสอบสวนโรคติดต่อชายแดนไทย - เมียนมา วันที่ 20 - 22 ตุลาคม 2563 

รายชื่อผู้ผ่านการอบรมเชิงปฏิบัติการทีมตระหนักรู้สถานการณ์ (SAT) ระดับอำเภอ ปีงบประมาณ 2566 วันที่  28 พฤศจิกายน 2565