บทนำ

       เป็นศิลปะการแสดงที่มีเอกลักษณ์เฉพาะถิ่นถือเป็นศาสตร์และศิลป์ของภาคใต้  โนรา : Nora. Dance Drama in Southem Thailand ได้รับกาiขึ้นทะเบียนเป็นมรดกทางวัฒนธรมที่ได้รับประกาศรับรองจากองค์การ ศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรม แห่งสหประซาชาติ (UNESCO) โดยเป็นมรดกภูมิปัญญาแบบทุนวัฒนธรรมที่จับต้อง ไม่ได้ (intangible cutural capital) ศิลปะการร่ายรำ บทขับร้อง เครื่องแต่งกายที่มีเอกลักษณ์ ถือเป็นอัตลักษณ์ที่โดดเด่นชับ เคลื่อนกระแสการบริโภคผลิตภัณฑ์ทางวัฒนธรรม (Cultural Product) และ การบริการทางวัฒนธรรม (Cultural Service) โตยได้วับความนิมอผ่ต่อเนื่องและสร้างมูลคำเพิ่มทางเศรษฐกิจ อย่าไรก็ตาม การชับเคลื่อนแหล่งเรียนรู้   พิพิธภัณฑ์มโนราห์  และพื้นที่วัฒนธรมขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม จำเป็นอย่างยิ่งในการใช้แบบจำลองของกระบวนการออกแบบทางสถาปัตยกรรม (Models of The Architectural Design Process) เพื่อออกแบบและสรรค์สร้างสภาพแวดล้อมอันสอดคล้องกับหรัพยากร สถปัตยกรรม ภูมิปัญญา ภูมินิเวศ ศาสตร์ช่างในพื้นที่ สัญลักษณ์ทางวัฒนธรรมของสังคม และบริบทเชิงพื้นที่ โดยมีการแสดงออกทางกายภาพอันแสดงแนวคิด (Concept) สัญลักษณ์ (Symbol) เพื่อใช้ใน การสื่อความ และวัฒนธรรม (Culture)

       องค์การบริหารส่วนตำบลข้าม พื้นที่บริการทางวัฒนธรรม (Culural Service) และพื้นที่วัฒนธรรม (Cultural Space) หมุดหมายสำตัญอันขับเคลื่อนพื้นที่ซึ่งส่งผลต่อมิติเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมการสร้างสรรค์พื้นที่วัฒนธรรมองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้ามใช้กระบวนการออกแบบสู่การยกระดับศักยภาพพื้นที่โดยการสรรค์สร้างสภาพแวดล้มอันส่งเสริมและบ่งบอกถึงอัตสักษณ์และคุณค่าทุนวัฒนธรรมมโนราห์ ก่อประโยชน์แก่พื้นที่ในการการเพิ่มมูลค่ทาง

เศรษฐกิจ ถือเป็นการขับเคลื่อนเครือข่ายทุนทางวัฒนธรรมที่สำคัญอันสืบสานวัฒนธรรมแก่คนรุ่นหลัง เกิดเป็นพื้นที่แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน องค์กร ก่อเกิดการบริการเชิงพาณิซย์ ถือเป็นการขับเคลื่อนสำคัญของ โนรา : Nora. Dance Drama in Southern 'Thailand


ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ทัชชญา สังขะกูล

อาจารย์ เรื่องรัมภา อินทรักษ์ และคณะ

ประวัติความเป็นมาของ 

โนรา หรือ มโนราห์

เป็นมหรสพศิลปะการร่ายรำทางภาคใต้ซึ่งถือได้ว่าเป็นศิลปะวัฒนธรรมเก่าแก่ที่สืบทอดต่อกันมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน โนราได้รับความนิยมอย่างกว้างขว้างเกือบทุกท้องถิ่นบ่งบอกถึงการแสดง

ศิลปะวัฒนธรรมทางภาคใต้ ความเป็นเอกลักษณ์จากรุ่นบรรพบุรุษสู่รุ่นลูกรุ่นหลาน เป็นศิลปะการแสดงของชาวใต้ที่โดดเด่นในเรื่องของเครื่องแต่งกาย เครื่องดนตรี ท่ารำ และบทขับกลอน ในจังหวัดพัทลุง สงขลา นครศรีธรรมราช และอีกหลายจังหวัดในภาคใต้ ได้ขับเคลื่อนและสืบสานวัฒนธรรมมโนราห์ให้คงอยู่สืบไป