ข้อมูล กศน.ตำบล

ประวัติความเป็นมา

กศน.ตำบลเหล่ากวาง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 บ้านหนองสนม ตำบลเหล่ากวาง อำเภอโนนคูณ จังหวัด ศรีสะเกษ (33250) เดิม กศน.ตำบลเหล่ากวาง เป็นศูนย์การเรียนชุมชนตำบลเหล่ากวาง ต่อมาสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ให้ทางศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ คัดเลือกศูนย์การเรียนชุมชน เพื่อจัดตั้งเป็น กศน.ตำบล ในปีงบประมาณ 2553 และประกาศจัดตั้งให้เป็น กศน.ตำบลเหล่ากวาง : แหล่งเรียนรู้ราคาถูก เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2553 คนในชุมชนส่วนใหญ่พูดภาษาท้องถิ่น คือ ภาษาอีสาน (ภาษาลาว) และภาษาเขมร และส่วยเป็นบางส่วน ชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ตำบลเหล่ากวาง อยู่ห่างจากตัวจังหวัดศรีสะเกษ ไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 25 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากตัวอำเภอโนนคูณ ประมาณ 12 กิโลเมตร พื้นที่ดังกล่าวมีคนเริ่มเข้ามาอยู่อาศัยเพื่อทำมาหากิน และตั้งเป็นชุมชนมากขึ้นและมีเส้นทางลูกรังที่ใช้เป็นเส้นทางสัญจรไปมาระหว่างเมืองศรีสะเกษ กับชุมชนและเมื่อมีการจัดระเบียบการปกครองท้องถิ่นขึ้น จึงได้รวบรวมเอาหมู่บ้านต่าง ๆ ขึ้นเป็น 12 หมู่บ้านในปัจจุบันโดยใช้ชื่อตำบลเหล่ากวาง

ตำบลเหล่ากวาง เป็นตำบล1 ใน 5 ของ อำเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษกศน.ตำบลเหล่ากวาง เป็นศูนย์กลางการจัดการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชนในชุมชน ที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและกลุ่มเป้าหมายต่างๆรวมทั้งพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนให้ดีขึ้น โดยมุ่งหวังให้ภารกิจของ กศน.นำสู่การปฏิบัติในฐานะของหน่วยจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อส่งเสริมการเรียนตลอดชีวิตของประชาชน ซึ่งการดำเนินงานของ กศน.ตำบล ต้องประสานงานให้สอดคล้องกับจุดเน้น และกรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษา และให้เป็นที่ยอมรับของชุมชนและสังคมต่อไป และปัจจุบันมีจำนวนบุคลากรดังนี้

1 นางสาวลีลาวดี สีหบัณฑ์ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอโนนคูณ

2 นายพรอาทิตย์ รักษาสิน ครู

3 นางสาววาสนา ใสเนตร ครูอาสาสมัครฯ

4 นางนิรันดร ทองขาว ครู กศน.ตำบลเหล่ากวาง

5 นางศิริเพ็ญ พิรุณ ครูศูนย์การเรียนชุมชน

ปี พ.ศ. 2553 ได้มีระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยแหล่งเรียนรู้ราคาถูก : กศน.ตำบลหรือแขวงพ.ศ. 2553 ให้ศูนย์ กศน.อำเภอคัดเลือกศูนย์การเรียนชุมชนในตำบลหรือแขวงหรือจัดตั้งขึ้นใหม่ตามความเหมาะสมเพื่อเสนอจัดตั้งแหล่งเรียนรู้ราคาถูก : กศน.ตำบลหรือแขวงโดยความเห็นชอบของสำนักงาน กศน.จังหวัดหรือ กทม. และจัดทำเป็นประกาศของจังหวัดโดยผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจลงนามในประกาศจัดตั้งดังนั้น“ศรช. ประจำตำบลเหล่ากวาง” ได้เปลี่ยนชื่อเป็น“กศน. ตำบลเหล่ากวาง”เป็นต้นมา

ตำบลเหล่ากวาง เป็นตำบล1 ใน 5 ของ อำเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ กศน.ตำบลเหล่ากวาง เป็นศูนย์กลางการจัดการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชนในชุมชน ที่สอดคล้องกับความต้องการของประชาชนและกลุ่มเป้าหมายต่างๆรวมทั้งพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนให้ดีขึ้น โดยมุ่งหวังให้ภารกิจของ กศน.นำสู่การปฏิบัติในฐานะของหน่วยจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อส่งเสริมการเรียนตลอดชีวิตของประชาชน ซึ่งการดำเนินงานของ กศน.ตำบล ต้องประสานงานให้สอดคล้องกับจุดเน้น และกรอบแนวทางการปฏิรูปการศึกษา และให้เป็นที่ยอมรับของชุมชนและสังคมต่อไป

1.2 ที่ตั้ง

กศน.ตำบลเหล่ากวาง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 บ้านหนองสนม ตำบลเหล่ากวาง อำเภอโนนคูณ จังหวัด ศรีสะเกษ (33250) เดิม กศน.ตำบลเหล่ากวาง เป็นศูนย์การเรียนชุมชนตำบลเหล่ากวาง ต่อมาสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ให้ทางศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ คัดเลือกศูนย์การเรียนชุมชน เพื่อจัดตั้งเป็น กศน.ตำบล ในปีงบประมาณ 2553 และประกาศจัดตั้งให้เป็น กศน.ตำบลเหล่ากวาง : แหล่งเรียนรู้ราคาถูก เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2553 คนในชุมชนส่วนใหญ่พูดภาษาท้องถิ่น คือ ภาษาอีสาน (ภาษาลาว) และภาษาเขมร และส่วยเป็นบางส่วน ชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ตำบลเหล่ากวาง อยู่ห่างจากตัวจังหวัดศรีสะเกษ ไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 50 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากตัวอำเภอโนนคูณ ประมาณ 12 กิโลเมตร

โทรศัพท์ 089 – 8441669 E-mail : nirundon99999@gmail.com

Websitehttp : https://www.facebook.com/nfe.LaoKwang/

facebook : https://www.facebook.com/nfe.LaoKwang/?tn-str=k*F

1.3 ประวัติข้อมูลตำบลเหล่ากวาง

กศน.ตำบลเหล่ากวาง ตั้งอยู่ หมู่ที่ 1 บ้านหนองสนม ตำบลเหล่ากวาง อำเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ (33250) เดิม กศน.ตำบลเหล่ากวาง เป็นศูนย์การเรียนชุมชนตำบลเหล่ากวาง ต่อมาสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ได้ให้ทางศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ คัดเลือกศูนย์การเรียนชุมชน เพื่อจัดตั้งเป็น กศน.ตำบล ในปีงบประมาณ 2553 และประกาศจัดตั้งให้เป็น กศน.ตำบลเหล่ากวาง : แหล่งเรียนรู้ราคาถูก เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2553 คนในชุมชนส่วนใหญ่พูดภาษาท้องถิ่น คือ ภาษาอีสาน (ภาษาลาว) และภาษาเขมร และส่วยเป็นบางส่วน ชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรม ตำบลเหล่ากวาง อยู่ห่างจากตัวจังหวัดศรีสะเกษ ไปทางทิศตะวันออก ประมาณ 25 กิโลเมตร และอยู่ห่างจากตัวอำเภอโนนคูณ ประมาณ 12 กิโลเมตร พื้นที่ดังกล่าวมีคนเริ่มเข้ามาอยู่อาศัยเพื่อทำมาหากิน และตั้งเป็นชุมชนมากขึ้นและมีเส้นทางลูกรังที่ใช้เป็นเส้นทางสัญจรไปมาระหว่างเมืองศรีสะเกษ กับชุมชนและเมื่อมีการจัดระเบียบการปกครองท้องถิ่นขึ้น จึงได้รวบรวมเอาหมู่บ้านต่าง ๆ ขึ้นเป็น 12 หมู่บ้านในปัจจุบันโดยใช้ชื่อตำบลเหล่ากวาง

ทิศเหนือ ติดต่อกับตำบลโพธิ์ อำเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ

ทิศใต้ ติดต่อกับตำบลหนองงูเหลือม อำเภอเบญจลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ

ทิศตะวันออก ติดต่อกับตำบลโนนค้อ อำเภอโนนคูณ จังหวัดศรีสะเกษ

ทิศตะวันตก ติดต่อกับตำบลเขิน อำเภอน้ำเกลี้ยง จังหวัดศรีสะเกษ

สภาพทางสังคม

พื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลเหล่ากวางมีโรงเรียนในระดับประถมศึกษาจำนวน 7 โรงเรียนคือ

1. โรงเรียนบ้านหนองสนม

2. โรงเรียนบ้านนาม่องนาเมือง

3. โรงเรียนบ้านหยอด

4. โรงเรียนบ้านเวาะ

5. โรงเรียนบ้านหนองตลาด

6. โรงเรียนบ้านเหล่าฝ้าย

7. กศน.ตำบลเหล่ากวาง

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก (อนุบาล 3 ขวบ)

1. ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.เหล่ากวาง

2. ศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ วัดบ้านหยอด

สถาบันและองค์กรทางศาสนา วัด/สำนักสงฆ์ 10 แห่ง

1. วัดบ้านหนองสนม จำนวน 2 แห่ง

2. วัดบ้านหยอด จำนวน 1 แห่ง

3. วัดบ้านเวาะ จำนวน 1 แห่ง

4. วัดบ้านเหล่าฝ้าย จำนวน 1 แห่ง

5. สำนักสงฆ์บ้านหยอด จำนวน 1 แห่ง

6. สำนักสงฆ์บ้านหนองกุ้ง จำนวน 1 แห่ง

7. วัดบ้านหนองตลาด จำนวน 1 แห่ง

8. สำนักสงฆ์บ้านนาม่อง จำนวน 1 แห่ง

9. สำนักสงฆ์บ้านนาเมือง จำนวน 1 แห่ง

สาธารณสุข

-สถานีอนามัยประจำตำบล 1 แห่ง

- โรงพยาบาลสุขภาพตำบลหยอด

การบริการพื้นฐาน

การโทรคมนาคม

- ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข 1 แห่ง

- โทรศัพท์สาธารณะ 11 แห่ง

การไฟฟ้า

มีไฟฟ้าทุกหมู่บ้านหมู่ที่ 1 – 12 จำนวนประชากรที่ใช้ไฟฟ้าจำนวน 999 ครัวเรือน

แหล่งน้ำธรรมชาติ

- ลำน้ำ, ลำห้วย 5 สาย

- บึงหนองและอื่นๆ 3 แห่ง

แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น

- ฝาย 4 แห่ง

- บ่อน้ำตื้น - แห่ง

- บ่อโยก 11 แห่ง

- อื่นๆ - แห่ง

ข้อมูลอื่นๆ

5.1 ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่

- ห้วยขยุง ,หนองผำ ,กุดเสลา,กุดเปล่ง ,ห้วยไผ่ ,ห้วยซุงห้วยกล้วย

- ห้วยเปือย ,ดอนปู่ตา หมู่ ที่ 5,7

5.2 มวลชนจัดตั้ง

- ลูกเสือชาวบ้าน 1 รุ่น 38 คน

- อปพร. 4 รุ่น 120 คน