STEM.pdf

ข้อมูลผู้ประเมิน


ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง 

ภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด 


.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน........20.....ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้    1/2565

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาศาสตร์ 1) จำนวน     3    ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาศาสตร์ 3) จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชาประวัติศาสตร์ ม.1 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชาประวัติศาสตร์ ม.2 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชาป้องกันทุจริต ม.1 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชาป้องกันทุจริต ม.2 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ ป.5) จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์

ชุมนุมคอมพิวเตอร์   จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

PLC   จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

     กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนลูกเสือเนตรนารี   จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์


              ฯลฯ

1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน.......1......ชั่วโมง/สัปดาห์

การมีส่วนร่วมในชุมชนแห่งการเรียนรู้ จำนวน .......1....ชั่วโมง/สัปดาห์

1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน......3......ชั่วโมง/สัปดาห์

       หัวหน้างานทะเบียนและวัดผล รับผิดชอบการวัดผลประเมินผลดำเนินการเทียบโอนผลการเรียน ระดับมัธยมศึกษา  ม.1-3        

          หัวหน้าการพัฒนาและใช้สื่อเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา

          ผู้ช่วยหัวหน้างานบริหารงานวิชาการ วางแผนงานด้านวิชาการ การพัฒนาหลักสูตร ต้านทุจริต ปี 2564 การจัดการเรียนการสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-3 และจัดทำระเบียนเกี่ยวกับงานวิชาการ

        รองหัวหน้างานระบบข้อมูลสารสนเทศของโรงเรียน

        รับผิดชอบงานวิจัยเพื่อพัฒนาแผนและนโยบาย

        เป็นผู้ดูแลห้องคอมพิวเตอร์ และดูแลเว็บไซต์โรงเรียน

        เป็นคณะทำงานโรงเรียนคุณภาพตำบล

        เป็นคณะทำงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน

        รับผิดชอบ งาน/โครงการ ตามที่เห็นชอบในแผนปฏิบัติการประจำปี

        รับผิดชอบมาตฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานและระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

         ปฏิบัติงานอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากผู้บริหาร

1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน.....2........ชั่วโมง/สัปดาห์


2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู 


ด้านการจัดการเรียนรู้ 

ส่วนที่ 2  ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน



ประเด็นท้าทาย เรื่องการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต

1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน

สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้ จากการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พบว่า นักเรียนยังไม่สามารถสรุปประเด็นสําคัญ จากการเรียน ทั้งภาคความรู้และภาคปฏิบัติ จึงทําให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอยู่ในระดับต่ำซึ่งปัญหาดังกล่าว แสดงให้เห็นวาการจัดการเรียนรูยังเป็นปัญหาสําหรับครู จากสภาพปัญหาที่เกิดขึ้น การจัดการเรียนรูที่เน้น นักเรียนเป็นสําคัญเพื่อให้นักเรียนมีความกระตือรือร้นในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง กลาแสดงออก สามารถเชื่อมโยงองค์ความรูจากเนื้อหาบทเรียนและสรุปประเด็นที่สําคัญจนสามารถนําไปใช้ ในชีวิตประจําวัน และแก้ปัญหาได้ การจัดการเรียนรูในลักษณะนี้จึงตองเลือกใช้รูปแบบการสอน วิธีสอน เทคนิคการสอนที่ เหมาะสม รูปแบบการสอนโดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์จะช่วยให้นักเรียนเกิดการ เรียนรู้ได้ 


2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล

การวางแผน (Plan)

1.   ศึกษา วิเคราะห์หลักสูตรรายชั้น วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

เพื่อจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด

             2.  ออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต

            3. สร้างแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต

             4. แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต 

             5.  ปรับปรุง/พัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต

             - การปฏิบัติ (Do)

แบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชิวิต  ที่ผ่านการปรับปรุง แล้วไปจัดการเรียนรู้กับกลุ่มเป้าหมาย

- การตรวจสอบ (Check)

1. ศึกษาประสิทธิผลของแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง บรรยากาศ

2.ศึกษาข้อมูลตอบกลับของผู้เรียน ต่อกระบวนการจัดการเรียนรู้โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต

- การปรับปรุงแก้ไข (Act) ปรับปรุงแก้ไขแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต โดย รวบรวมข้อมูลตอบกลับจากผู้เรียนเพื่อแยกประเด็นในการพัฒนาแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ นำประเด็นดังกล่าวเข้าสู่วง PLC เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและแนวทางการพัฒนาตามประเด็น


3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง

3.1 เชิงปริมาณ  

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ร้อยละ 70 เมื่อได้รับการจัดการเรียนรู้ด้วยชุดแบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน เรื่อง บรรยากาศ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สูงขึ้น

3.2 เชิงคุณภาพ                         

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 มีความกระตือรือร้น ในการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเอง กล้าแสดงออก สามารถเชื่อมโยงองค์ความรูจากเนื้อหาบทเรียนและสรุปประเด็นที่สําคัญได้

.


เอกสารหลักฐาน และ คลิปการจัดการเรียนรู้