How FITS are you ?
ระบบสารสนเทศ มูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ (FOPDEV's Information Technology Systems)
บั๊ดดี้โฮมแคร์ กิจการเพื่อสังคมในการดูแลผู้สูงอายุ (BHC)
กรอบแนวคิดโครงการ: สร้างงาน สร้างรายได้ ให้แก่เยาวชนชนเผ่าและผู้ตกงานจากผลกระทบโควิด-19 มีผู้รับประโยชน์โดยตรงจากโครงการรวม 30 คน โครงการจะจัดกระบวนการกระตุ้นให้เกิดกลไกการดูแลผู้สูงอายุและปรับตัวรับมือกับภาวะวิกฤตของชุมชนผ่านประสบการของบั๊ดดี้โฮมแคร์ มีผู้รับประโยชน์จากโครงการที่กลไกชุมชนเข้าไปช่วยเหลือรวม 1,630 คน และผลิตคอนเทนต์คู่มือในการดูแลสุขภาพ สามารถเข้าถึงและใช้งานผ่านแอพพลิเคชั่นบั๊ดดี้โฮมแคร์ และช่องทางสื่อสังคมออนไลน์
วัตถุประสงค์:
ให้ทุนอบรมพัฒนาทักษะการดูแล และจ้างงานระยะสั้น ระยะยาว แก่เยาวชนชนเผ่าและผู้ตกงานจากผลกระทบโควิด-19
เสริมสร้างกลไกการดูแลผู้สูงอายุและปรับตัวรับมือกับภาวะวิกฤตของชุมชน ผ่านประสบการณ์ของบั๊ดดี้โฮมแคร์
ถอดองค์ความรู้ประสบการณ์ของบั๊ดดี้โฮมแคร์ และผลิตเป็นคอนเทนต์ คู่มือในการดูแลสุขภาพ สามารถเข้าถึงและใช้งานผ่านแอพพลิเคชั่นบั๊ดดี้โฮมแคร์
เอกสารโครงการ:
ข้อเสนอโครงการ (Full_Proposal_9_Feb_2021.pdf)
งบประมาณโครงการ (Budget_9_Feb_2021.xlsx)
ไฟล์นำเสนอ (Presentation_Feb_2021.pdf)
หนังสือยืนยันการสนับสนุนวงเงิน (TOR_1_Jun_2021.pdf)
เอกสารจดทะเบียนบริษัท (Business_Register_14_Jun_2019.pdf)
เอกสารแสดงผู้ถือหุ้น (Share_Holders_8_Nov_2019.pdf)
เอกสารรับรองวิสาหกิจเพื่อสังคม (SE_Certified_25_Sep_2020.pdf)
ผู้รับผิดชอบโครงการ:
นราธิป เทพมงคล - ผู้จัดการโครงการ
อรพรรณ์ มงคลพนาสถิต - ผู้จัดการบริษัทบั๊ดดี้โฮมแคร์ วิสาหกิจเพื่อสังคม จำกัด
ไพลิน ไทยใจอุ่น - พยาบาลวิชาชีพ
นารีนุช ริทู - เจ้าหน้าที่ส่งเสริมสุขภาพ
ทศวรรษ บุญมา - เจ้าหน้าที่ประสานงานโครงการ
จันทร์จิรา อินต๊ะตื้อ - เจ้าหน้าที่การเงิน และบัญชี
งบประมาณ: 2,120,000 บาท
เป็นเงินสนับสนุนแบบให้เปล่า 620,000 บาท และเงินสนับสนุนแบบชำระคืน 1,500,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน: 12 เดือน (1/6/2021 - 31/5/2022)
โครงการเสริมสร้างศักยภาพชมรมผู้สูงอายุ 3 จังหวัดภาคเหนือตอนบน (OPA)
กรอบแนวคิดโครงการ: ขับเคลื่อนพัฒนางานผู้สูงอายุรองรับสังคมสูงวัย เพื่อให้ผู้สูงอายุมีชีวิตที่มีคุณภาพ อยู่ร่วมกับชุมชน สังคมอย่างมีคุณค่า และมีศักดิ์ศรี
วัตถุประสงค์:
เพื่อให้ชมรมผู้สูงอายุมีความรู้ และทักษะในการพัฒนางานผู้สูงอายุอย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมความมั่นคงด้านสุขภาวะผู้สูงอายุ และสามารถรับมือกับสถานการณ์โควิด และชีวิตวิถีใหม่
เพื่อสร้างกลไกขับเคลื่อน การจัดการดูแลผู้สูงอายุแบบบูรณาการในการรองรับสังคมสูงวัย
เพื่อสร้างการเรียนรู้ให้ผู้สูงอายุสามารถใช้เทคโนโลยี และสามารถสื่อสารให้สังคมเกิดความตระหนักต่อประเด็น และศักยภาพของผู้สูงอายุ รวมทั้งมีทัศนคติที่ดีต่อผู้สูงอายุในฐานะ "พลัง" ของการพัฒนาสังคม
เอกสารโครงการ:
ข้อเสนอโครงการ (Full_Proposal_17_Aug_2020.pdf)
งบประมาณโครงการ (Budget_17_Aug_2020.xlsx)
ผู้รับผิดชอบโครงการ:
คุณิกร ธรรมยอม - ผู้จัดการโครงการ
อภิชาติ ฆ้องกบ - ผู้ประสานงานโครงการ
วีรภัทร วิไลศิลปดีเลิศ - เจ้าหน้าที่สื่อสาร และรณรงค์สาธารณะ
ศรัณยู แก้วกันทา - เจ้าหน้าที่สื่อสารองค์กร
จันทร์จิรา อินต๊ะตื้อ - เจ้าหน้าที่การเงิน และบัญชี
งบประมาณ: 4,895,710 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน: 18 เดือน (xx/xx/xxxx - xx/xx/xxxx)
Promoting Thailand's Age-inclusive disaster risk reduction (DRR)
กรอบแนวคิดโครงการ: FOPDEV with supported by Prudence Foundation sice 2013 have a great opportunity to implemented the program phase 1, 'Building Capacities for Empowerment and Resilience in Thailand (2013-2015)' and phase 2, 'Building Network for National DRR platform in Thailand (2016-2018)'. These enhanced the role of older people in community-based disaster risk reduction (CBDRR) and represent as success model in ASEAN level.
Strengthening current national CSOs to effectively work with their governments at national and local levels has been proven as one of the successful and sustainable approaches to achieve disaster and climate-resilience.
The project in phase 3, 'Promoting Thailand's Age-inclusive disaster risk reduction (2019-2021)', aim to strengthen the OPGs and CSOs capacity to promote consolidation and expansion of age-inclusive DRR in Thailand and ASEAN.
วัตถุประสงค์:
Sustainability, replication and scaling impacts of Age-inclusive DRR
Shared responsibility, Complementarity, Coordination and Partnerships
Integrated and Targeted Age-inclusive DRR
Capacity-building for communities and civil society organisations works on DRR
เอกสารโครงการ:
ข้อเสนอโครงการและงบประมาณ (Full_Proposal_9_Aug_2019.pdf)
สัญญาโครงการ (Agreement_2019-2022.pdf)
รายงาน ปีที่ 1 (Interim_Report_Y1_July-Dec_2019.pdf)
รายงาน ปีที่ 2 (Interim_Report_Y2_July-Dec_2020.pdf)
รายงาน ปีที่ 3 (...)
รายงานรูปภาพ ปีที่ 1 (...)
รายงานรูปภาพ ปีที่ 2 (Pictorial_Report_Y2_July-Dec_2020.pdf)
รายงานรูปภาพ ปีที่ 3 (...)
รายงานการเงิน ปีที่ 1 (Interim_Financial_Report_Y1_July-Dec_2019.xlsx)
รายงานการเงิน ปีที่ 2 (...)
รายงานการเงิน ปีที่ 3 (...)
ผู้รับผิดชอบโครงการ:
ชาญยุทธ เทพา - ผู้จัดการโครงการ
เกษริน กันทะอินทร์ - ผู้ช่วยผู้จัดการโครงการ
ทศวรรษ บุญมา - เจ้าหน้าที่ประสานงานโครงการ
จันทร์จิรา อินต๊ะตื้อ - เจ้าหน้าที่การเงิน และบัญชี
งบประมาณ: X,XXX,XXX บาท
ปีละ 70,000 GBP ระยะเวลา 3 ปี
ระยะเวลาดำเนินงาน: 36 เดือน (1/7/2019 - 30/6/2022)
โครงการรณรงค์เพื่อความมั่นคงในชีวิตของหญิงสูงอายุ (POW)
กรอบแนวคิดโครงการ: จากการศึกษาสถานการณ์การเงินของหญิงสูงอายุในประเทศไทย โดยมูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ ร่วมกับมูลนิธิผู้หญิง 3 พบว่าหญิงสูงอายุส่วนใหญ่ประสบกับภาวะขาดความมั่นคงในชีวิตเนื่องจากไม่มีเงินออม โดยในปี พ.ศ. 2560 หญิงสูงอายุกว่าร้อยละ 12.6 ไม่มีรายได้ หรือมีรายได้ต่ำกว่า 10,000 บาท มีเพียงร้อยละ 72.7 ที่มีเงินออมเมื่อเทียบกับชายสูงที่มีเงินออมอายุร้อยละ 77.9 และพบว่าหญิงสูงอายุที่ทำงานมีรายได้อยู่ในอัตราที่น้อยมาก เนื่องจากส่วนใหญ่ทำงานในธุรกิจของครอบครัวที่ไม่ได้รับค่าจ้าง จำนวนหญิงสูงอายุที่ได้รับบำนาญมีเพียง 1 ใน 3 ของผู้ที่ได้รับบำนาญทั้งหมด เพราะส่วนใหญ่ผู้หญิงทำงานในภาคนอกระบบ แม้ว่าตั้งแต่ปีพ.ศ. 2552 รัฐบาลจะจัดสรรเบี้ยยังชีพอย่างถ้วนหน้าแก่ผู้สูงอายุที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป ทว่าจำนวนเงินสนับสนุนดังกล่าวยังอยู่ในอัตราที่ต่ำกว่าเส้นความยากจนของประเทศ ดังนั้นผู้สูงอายุที่พึ่งพิงรายได้หลักจากเบี้ยยังชีพ ซึ่งกว่า 50% เป็นหญิงสูงอายุจึงไม่เพียงพอต่อการดำรงชีวิตโดยเฉพาะผู้สูงอายุในอาศัยเขตเมือง ขณะเดียวกันหญิงสูงอายุมีการพึ่งพาเงินสนับสนุนจากคู่สมรสและลูกหลานมากกว่าชายสูงอายุถึง 1.5 เท่า ซึ่งในท้ายที่สุดส่งผลให้หญิงสูงอายุมีความเปราะบางต่อความไม่มั่นคงทางการเงิน
วัตถุประสงค์:
โครงการรณรงค์เพื่อความมั่นคงในชีวิตของหญิงสูงอายุ มีเป้าหมายสูงสุดร่วมกันกับโครงการในระดับภูมิภาค คือ เพื่อส่งเสริมความเป็นอยู่ที่ดีและความมั่นคงในชีวิตของหญิงสูงอายุ (women’s well – being) ด้วยการยกระดับความมั่นคงทางการเงินของหญิงสูงอายุให้ดีขึ้น
วัตถุประสงค์ภายใต้เป้าหมายดังกล่าว ประกอบด้วย
เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจในมิติเพศภาวะและความเป็นหญิงชาย (gender – sensitive) ขององค์กรภาคี ในการพัฒนาโครงการและมาตรการในงานผู้สูงอายุ
เพื่อพัฒนาความร่วมมือของเครือข่ายผู้หญิงและเครือข่ายผู้สูงอายุ ในการรณรงค์เพื่อส่งเสริมความมั่นคงทางการเงินของหญิงสูงอายุ
เพื่อสนับสนุนความร่วมมือในการรณรงค์ขับเคลื่อนในสังคมประเด็นความมั่นคงทางการเงินของหญิงสูงอายุ
เพื่อส่งเสริมความเข้าใจของสาธารณชน และผู้มีอำนาจติดสินใจ ให้ปรับเปลี่ยนมุมมองต่อหญิงสูงอายุ และตระหนักถึงความสำคัญในการสร้างความมั่นคงในชีวิตของหญิงสูงอายุ โดยยกระดับความมั่นคงทางการเงินของหญิงสูงอายุ
เอกสารโครงการ:
ข้อเสนอโครงการ (...)
งบประมาณโครงการ (...)
ผู้รับผิดชอบโครงการ:
อภิรดา ชะเอมจันทร์ - เจ้าหน้าที่โครงการ/ผู้ประสานงานโครงการ
จันทร์จิรา อินต๊ะตื้อ - เจ้าหน้าที่การเงิน และบัญชี
งบประมาณ: XXX,XXX บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน: 18 เดือน (xx/xx/xxxx - xx/xx/xxxx)
โครงการอาสาสมัคร (VOL)
มูลนิธิพัฒนางานผู้สูงอายุ เปิดโอกาสให้ผู้ที่มีจิตสาธารณะ ร่วมเป็นอาสาสมัครในการช่วยเหลือ ดูแลผู้สูงอายุ