จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก



มาตรา ๙ แห่งพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๕๐
ได้บัญญัติประกันสิทธิ ของบุคคลในการเข้าเป็นส่วนหนึ่งของการทดลองในงานวิจัย”
ว่าหากจะนำบุคคลใดๆ มาเป็น ส่วนหนึ่งของงานวิจัยจะต้องได้รับอนุญาตจากบุคคลนั้นด้วย


นำเสนอประวัติความเป็นมาและหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ ทั้งในระดับสากลและของประเทศไทยโดยสังเขป ทั้งนำแนวทางและกรณีศึกษาต่างๆ จะทำให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ จนสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้พอสมควร ทั้งในฐานะผู้วิจัย กรรมการจริยธรรมการวิจัย อาสาสมัครวิจัย และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ 

คณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์เครือข่าย มหาวิทยาลัยนเรศวร (NUREC)  เขตภาคเหนือตอนล่าง ที่มีการสนับสนุนด้านงบประมาณประจำปีบางส่วนจาก วช.
เพื่อจัดตั้งสำนักงานจริยธรรมการวิจัยในคนระดับเขตที่เป็นต้นแบบ และพัฒนามาตรฐานด้านจริยธรรมการวิจัยในคนสู่มาตรฐานสากล โดยยึดหลักการดำเนินการวิจัยในคนสอดคล้องกับการวิจัยทางคลินิกที่ดี (Good Clinical Practice) และ หลักจริยธรรมสากล

ข้อมูลอื่นๆ เกี่ยวกับจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์

ผลงานวิจัย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก

ผลงานวิจัย แยกตามปีงบประมาณ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก

ติดต่อสอบถาม : วิฑิตา  สนศิริ  055-252052 ต่อ 322