การทำยาสมุนไพรพื้นบ้าน
แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่น การทำยาสมุนไพรพื้นบ้าน
คำว่า สมุนไพรตามพระราชบัญญัติยา หมายถึง ยาที่ได้จากพืช สัตว์ ซึ้งยังไม่ได้ผสม ปรุง หรือเปลี่ยนสภาพ เช่นพืชก็ยังเป็นของ ราก ลำต้น ดอก ใบ ชึ้งไม่ได้ผ่านขั้นตอนการแปรรูปใดๆ แต่ในทางการค้าสมุนไพรมักจะถูกดัดแปรงในรูปต่างๆ เช่น ถูกหั่นเป็นชิ้นเล็กๆลงบด หรือเป็น แท่ง อย่างไรก็ตามในความรู้สึกของคนเราก็กล่าวถึงสมุนไพร ดั่งนั้น นายนิด องอาจ จึงได้นำมาทำเป็นยาสมุนไพรรักษาโรคในการต่อมา
จุดเด่นของภูมิปัญญาท้องถิ่น
ผลิตภัณฑ์สมุนไพร หมายถึง การนำพืชสมุนไพรมาแปรรูปตามหลักการการแปรรูปผลิตภัณฑ์ โดยการนำส่วนของพืชสมุนไพรมาผสมปรุงหรือแปรสภาพอื่นๆ เช่น บดละเอียด โดยการเปลี่ยนแปลง สถานะของสมุนไพร ให้แตกต่างไปจากเดิม เพื่อประโยชน์ในการใช้งานที่หลากหลายมากขึ้น พืชสมุนไพรมี หลายชนิด และมีสรรพคุณทางยาเพื่อการรักษา บำบัด บรรเทา หรือป้องกันโรค ความเจ็บป่วย ที่เกิดจาก พืช สัตว์จุลชีพหรือธาตุวัตถุที่มีความแตกต่างกันของรูป รส กลิ่น สี ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญ เพื่อให้การแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพรมีคุณภาพดี ตลอดจนการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ให้มีคุณค่าใกล้เคียง ผลิตภัณฑ์เดิมมากที่สุด ผลิตภัณฑ์สมุนไพร หมายถึง การนำพืชสมุนไพรมาแปรรูปตามหลักการการแปรรูปผลิตภัณฑ์ โดยการนำส่วนของพืชสมุนไพรมาผสมปรุงหรือแปรสภาพอื่นๆ เช่น บดละเอียด โดยการเปลี่ยนแปลง สถานะของสมุนไพร ให้แตกต่างไปจากเดิม เพื่อประโยชน์ในการใช้งานที่หลากหลายมากขึ้น พืชสมุนไพรมี หลายชนิด และมีสรรพคุณทางยาเพื่อการรักษา บำบัด บรรเทา หรือป้องกันโรค ความเจ็บป่วย ที่เกิดจาก พืช สัตว์จุลชีพหรือธาตุวัตถุที่มีความแตกต่างกันของรูป รส กลิ่น สี ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญ เพื่อให้การแปรรูปผลิตภัณฑ์สมุนไพรมีคุณภาพดี ตลอดจนการเก็บรักษาผลิตภัณฑ์ให้มีคุณค่าใกล้เคียง ผลิตภัณฑ์เดิมมากที่สุด
จุดเด่นของยาสมุนไพรรักษาโรค
-เพื่อรักษาคุณภาพและคงประโยชน์ของสมุนไพร
-เพื่อเปลี่ยนลักษณะของสมุนไพรให้เหมาะสมในเชิงการค้า
ความร่วมมือกับ กศน.
กศน.มีส่วนร่วมในการส่งเสริมการอบรมให้ความรู้เรื่องของสมุนไพรให้กับชาวบ้าน ในโครงการงานการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนเพื่อให้ประชาชนรู้ประโยชน์ของสมุนไพรพื้นบ้านและการนำมารักษาโรค
การทำยาสมุนไพรพื้นบ้าน คุณพ่อนิดอุดม องอาจ เมื่อมีการจัดอบรมให้ความรู้ เกี่ยวกับสมุนไพร กศน.ตำบลให้การสนับสนุนทั้งสถานที่ และช่องทางการตลาด การออกแบบแพ็กเกจโลโก้ ของผลิตภัณฑ์ และนำยาสมุนไพรออกเผยแพร่
ตำแหน่งที่ตั้ง : (นายนิด องอาจ)บ้านทางสายลวด
ที่อยู่ ๖ หมู่ที่ ๙ ต.ไพรพัฒนา อ.ภูสิงห์
จ.ศรีสะเกษ 33140
การเดินทาง : ใช้เส้นทางถนนหมายเลข 2341 ห่างจาก
อำเภอภูสิงห์ ระยะทาง 23 กิโลเมตร