อาจารย์ นันธิดา ลิ่มเสฎโฐ

อาจารย์ นันธิดา ลิ่มเสฎโฐ

อาจารย์สาขา ชีวเคมี

E-mail : nunthida.li@skru.ac.th

Tel : 0647465355

ประวัติการศึกษา


ปริญญาตรี

วิทยาศาสตรบัณฑิต (ศึกษาศาสตร์)

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

2550

ปริญญาโท

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (ชีวเคมี์)

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

2554

ปริญญาเอก


ผลงานทางวิชาการ


ผลงานวิจัย

  1. นันธิดา ลิ่มเสฎโฐ, เชาวนีพร ชีพประสพ, นุสมณี กาโบะ และนูร์ฮาซีกิม มามะ สารต้านอนุมูลอิสระจากผลสวา (Manilkara zapota) สายพันธุ์ไข่ห่านที่บ่มระยะเวลาต่าง ๆ ในพื้นที่เกาะยอ จังหวัดสงขลา.ายงานสืบเนื่องจากงานประชุมวิชาการ การประชุมระดับชาติ ราชภัฏเลย ครั้งที่ 6 ประจำปี 2563 หน้า 1498-1505

  2. นันธิดา ลิ่มเสฎโฐ และเชาวนีพร ชีพประสพ ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากสารสกัดใบผักบุ้งทะเลจากบริเวณหาดชลาทัศน์ จังหวัดสงขลา. รายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิจัยระดับชาติด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเครือข่ายสถาบันอุดมศึกษาภาคใต้ ครั้งที่ 5 ประจำปี 2563 หน้า 1336-1342

  3. ต่วนรอฮานี โตะกูบาฮา, โนร์เลียนา ยะโก๊ะ, ทวีสิน นาวารัตน์ และนันธิดา ลิ่มเสฎโฐ. (2018). ปริมาณฟีนอลิกทั้งหมด ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระและฤทธิ์ต้านจุลชีพก่อโรคจากสารสกัดใบละมุดสีดา. วารสารวิทยาศาสตร์บูรพา, 23(3), กันยายน-ธันวาคม 2561. 8 หน้า, 1520-1527.

  4. ทวีสิน นาวารัตน์ และนันธิดา ลิ่มเสฎโฐ. (2561). ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระของแอลฟ่าแมงโกสตินจากเปลือกมังคุดและแดปโนเรตินจากรากพาหมี. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการประจำปี 2561 มหาวิทยาลัยแม่โจ้. 11-13 ธันวาคม 2561 อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่. 10 หน้า, 182-191.

  5. นันธิดา ลิ่มเสฏโฐ, ปาตีเมาะห์ บาเหะ, ธมลวรรณ แว่นแก้ว และสายใจ เลรักมาน. (2560). ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในพืชสมุนไพรท้องถิ่นของจังหวัดสงขลา 15 ชนิด. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการประจำปี 2560 มหาวิทยาลัยแม่โจ้. 7-8 ธันวาคม 2560 อาคารเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่. 9 หน้า, 203-211.

  6. นันธิดา ลิ่มเสฎโฐ, นูรุดดีน กอเฉม, เพียงใจ ไกรแก้ว, ภัสราภรณ์ ทองเอื้อย และศรันต์ สุวรรณโณ. (2560). ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในสารสกัดจากผลจำปาดะในพื้นที่จังหวัดสตูล. รายงานสืบเนื่องการประชุมระดับชาติ “วิทยาศาสตร์วิจัย” ครั้งที่ 9. 25-26 พฤษภาคม 2560 คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี. 7 หน้า, CH137-143.

  7. รัตนา สุขกลั้ง และนันธิดา ลิ่มเสฎโฐ. (2560). ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระจากสารสกัดพืชสมุนไพร 5 ชนิด. ราชภัฏวิชาการ 2560 รายงานสืบเนื่องการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ด้านวิทยาศาสตร์ และด้านสังคมศาสตร์. 13-14 กุมภาพันธ์ 2560 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, นครศรีธรรมราช. 10 หน้า, 373-382.

  8. นันธิดา ลิ่มเสฎโฐ, ยาวีณา หมัดศิริ และอาตีก๊ะ สะอิ. (2559). สารต้านอนุมูลอิสระในผลิตภัณฑ์จากใบชา ใบหม่อน และใบมะรุม. รายงานสืบเนื่องการประชุมสัมมนาวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ครั้งที่ 9. 11-13 พฤษภาคม 2559. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก โรงแรมจอมเทียนพาเลซ พัทยา,ชลบุรี. 13 หน้า, 571-583.

รายวิชาที่สอน


1. ปฏิบัติการเคมีพื้นฐาน

2. ชีวเคมี

3. ปฏิบัติการชีวเคมี

4. เคมีอาหาร

5. วิจัยทางเคมี

6.เคมีกับความปลอดภัย