Asst.Prof.Suhdee Niseng
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุห์ดี นิเซ็ง
สำเร็จการศึกษาปริญญาโท (วศ.ม. วิศวกรรมเครื่องกล)
สอนประจำสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร สาขาอุตสาหกรรม
มีความเชี่ยวชาญทางการออกแบบเครื่องจักรกลเกษตร ระบบขนถ่ายวัสดุ ไบโอดีเซล
เทคโนโลยีอบแห้ง การแปรรูปผลิตภัณฑ์ทางการเกษตร และระบบเกษตรอัจฉริยะ
ผศ.สุห์ดี นิเซ็ง
ตำแหน่ง : หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร
ตำแหน่งทางวิชาการ : ผู้ช่วยศาสตราจารย์
สังกัดคณะ : วิทยาลัยรัตภูมิ
หลักสูตร : สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร สาขาอุตสาหกรรม
อีเมล์ : suhdee.n@rmusv.ac.th
Asst.Prof.Dr.Arrisa Sopajarn
Present Position : Head of Agricultural Machinery Engineering Program
Academic Ranks : Asst.Prof.
Faculty : Ratthaphum Collage
Course : Agicultural Machinery Engineering Program, Department of Industrial
E-mail : suhdee.n@rmutsv.ac.th
การศึกษา : Education
วศ.ม. วิศวกรรมเครื่องกล, 2556, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วศ.บ. วิศวกรรมเครื่องกล, 2551, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สาขาที่เชี่ยวชาญ : Exprience
พลังงานทดแทนไบโอดีเซล
เทคโนโลยีการอบแห้ง
การออกแบบเครื่องจักรกลเกษตร
การแปรรูปผลิตภัณฑ์เกษตร
การแปรรูปของเหลือทิ้งหรือชีวมวลจากภาคเกษตร
ระบบเกษตรอัจฉริยะ
ประสบการณ์การสอน : Teaching Exprience
ระบบขนถ่ายวัสดุ
เครื่องจักรกลของไหล
กลศาสตร์วิศวกรรม
วัสดุอุตสาหกรรม
สหกิจวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร
งานวิจัยที่สนใจ : Search Interests
ไบโอดีเซล
อบแห้งผลิตภัณฑ์เกษตร
การออกแบบเครื่องจักรกลเกษตร
การแปรรูปของเหลือทิ้งจากภาคเกษตร
ระบบเกษตรอัจฉริยะ
ตำรา หนังสือ : Text book
เอกสารประกอบการสอน วิชาวัสดุอุตสาหกรรม
ประสบการณ์การทำงาน : Work Experience
2562- ปัจจุบัน หัวหน้าสาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตร
2563-ตุลาม 2565 หัวหน้าสาขาอุตสาหกรรม
2565- ปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ด้านวิศวกรรมเครื่องกล
2559 หัวหน้าโครงการวิจัย การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันประเภทกรดไขมันอิสระต่ำโดยใช้คลื่นไมโครเวฟ (ทุนงบประมาณเงินรายได้ วิทยาลัยรัตภูมิ มทร.ศรีวิชัย)
2559 ผู้ร่วมวิจัยโครงการวิจัย กระบวนการลดกรดไขมันอิสระในน้ำมันปาล์มดิบด้วยคลื่นไมโครเวฟ (ทุนงบประมาณเงินรายได้ มทร.ศรีวิชัย)
2559 ผู้ร่วมวิจัยโครงการวิจัย การกระจายตัวและการใช้ประโยชน์ป่าสาคูในพื้นที่ภาคใต้ จังหวัดตรัง (ทุนวิจัย สกอ.)
2560 ผู้ร่วมวิจัยโครงการวิจัย ระบบผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันปาล์มดิบโดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาวิวิธพันธุ์ชนิดเซรามิกพรุนด้วยถังปฏิกิริยาแบบแพ็คคอลัมน์เพื่อชุมชน (ทุนงบประมาณแผ่นดิน)
2561 ผู้ร่วมวิจัยโครงการวิจัย การสังเคราะห์ไบโอดีเซลจากน้ำมันพืชใช้แล้วโดยใช้คลื่นไมโครเวฟและการปรับปรุงคุณภาพด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาในกระบวนการไฮโดรจีเนชันบางส่วน (ทุนงบประมาณเงินรายได้ มทร.ศรีวิชัย)
2562 ผู้ร่วมวิจัย โครงการวิจัยการเพิ่มประสิทธิภาพตัวเร่งปฏิกิริยา MgO/CaO สำหรับการผลิตไบโอดีเซล (ทุนงบประมาณเงินรายได้ มทร.ศรีวิชัย)
2562 ผู้ร่วมวิจัย โครงการใช้ประโยชน์จากงานวิจัย ถนนแห่งอาหารย่านฉื่อฉาง ตามแผนพัฒนาการท่องเที่ยวจังหวัดสงขลาเพื่อชุมชนและสังคม (ทุนงบประมาณแผ่นดิน)
2563 หัวหน้าโครงการวิจัย การสังเคราะห์ไบโอดีเซลจากน้ำมันในน้ำเสียชุมชน เทศบาลเขารูปช้างจังหวัดสงขลา (ทุนงบประมาณ สกสว.)
ผลงานวิจัยหรือสิ่งประดิษฐ์ : Research or Innovation
Photo Album
งานตีพิมพ์วารสารระดับนานาชาติ
[1] Niseng, S., Somnuk, K. and Prateepchaikul, G. 2014. Optimization of base-catalyzed transesterification in biodiesel production from refined palm oil via circulation process through static mixer reactor. Advanced Materials Research 931-932: 1038 - 1042.
[2] Somnuk, K., Niseng, S. and Prateepchaikul, G. 2014. Optimization of high free fatty acid reduction in mixed crude palm oils using circulation process through static mixer reactor and pilot-scale of two-step process. Energy Conversion and Management 80: 374 - 381.
งานตีพิมพ์วารสารระดับชาติ
[1] สุห์ดี นิเซ็ง อาริษา โสภาจารย์ ภาณุมาศ สุยบางดำ ธนะวิทย์ ทองวิเชียร และกฤษณพงค์ สังขวาสี. (2563). เครื่องลดกรดไขมันอิสระในน้ำมันปาล์มดิบหีบรวมโดยใช้คลื่นไมโครเวฟและท่อผสมแบบสถิต. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปีที่ 15 ฉบับที่ 3, 1-6.
[2] สุห์ดี นิเซ็ง ภาณุมาศ สุยบางดำ กฤษณพงค์ สังขวาสี และสุพัตรา เพ็งเกลี้ยง. (2562). การศึกษาผลของขนาดช่องระบายความชื้นสำหรับการอบแห้งพริกด้วยเครื่องอบแห้งพลังงานผสมผสาน. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ปีที่ 11 ฉบับที่ 1, 160-170.
[3] สุห์ดี นิเซ็ง ภาณุมาศ สุยบางดำ. (2562). เครื่องย่อยชานอ้อยสำหรับการเพาะเห็ด. วิศวกรรมสาร มก. ฉบับที่ 107 ปีที่ 32, 23-30.
[4] จักรพงษ์ จิตต์จำนงค์ สุห์ดี นิเซ็ง นลพรรณ ขันติกุลำนนท์ และณปภัช สมำนวงศ์. 2561. ความว่องไวของ Ni/SiO2 ในกระบวนการไฮโดรจิเนชันบางส่วนของไบโอดีเซลจากน้ามันพืชใช้แล้ว. วารสารมหาวิทยาลัยทักษิณ ปีที่ 21 ฉบับที่ 3 (ฉบับพิเศษ), 101-106. สืบเนื่องจากงานประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยทักษิณ ครั้งที่ 28 ประจำ ปี 2561 (เดือนพฤษภาคม – ตุลาคม 2561)
[5] สุห์ดี นิเซ็ง. 2561. การพัฒนาเครื่องผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันพืชที่ใช้แล้วโดยใช้ใบกวนแบบ 45° two-blade Paddle ร่วมกับ 6-blade disc turbine วารสารวิศวกรรม มก. ปีที่ 31 ฉบับที่ 105, 29-38.
การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
[1] Amarin Suntiniyompukdee, Apirak Songrak, Somrak Fodjaroen, Tanawit Thongwichean, Arrisa Sopajarn and Sudee Niseng. 2017. Distribution and Utilization of Sago forest in Southern Thainland: Trang Province. Proceedings of 13th International Conference on Humanities & Social Sciences 2017, Hhon Kaen University, Thailand, Nov. 2nd-3rd, 2017, pp. 1-15.
การประชุมวิชาการระดับชาติ
[1] ทศพิธ วิสมิตนันท์ สุห์ดี นิเซ็ง นันทพงษ์ พงษ์พิริยะเดชะ. (2563). สภาวะที่เหมาะสมสำหรับการอบแห้งใบเตยด้วยพลังงานแสงอาทิตย์แบบการพาความร้อนโดยการบังคับอากาศแบบผสม. การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ครั้งที่ 13 ประจำปีการศึกษา 2563, 4522-4530.
[2] นันทพงษ์ พงษ์พิริยะเดชะ สุห์ดี นิเซ็ง ทศพิธ วิสมิตนันท์. (2563). กังหันน้ำสำหรับชาร์จอุปกรณ์ไฟฟ้าแบบพกพา. การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี ครั้งที่ 13 ประจำปีการศึกษา 2563, 4539-4550.
[3] สุห์ดี นิเซ็ง และภาณุมาศ สุยบางดำ. (2559). เตาอบแห้งพริกชี้ฟ้าโดยใช้พลังงานไฟฟ้าร่วมกับพลังงานแสงอาทิตย์. การประชุมวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 9. คณะครุศาสตร์อัตสาหกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, ประเทศไทย, 24 พฤศจิกายน 2559, 50-54.
[4] ธนะวิทย์ ทองวิเชียร ภาณุมาศ สุยบางดำ และสุห์ดี นิเซ็ง. (2559). การออกแบบและพัฒนาหม้อต้มไอน้ำสำหรับนึ่งก้อนเชื้อเห็ด. การประชุมวิชาการครุศาสตร์อุตสาหกรรมระดับชาติ ครั้งที่ 9. คณะครุศาสตร์อัตสาหกรรม, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, ประเทศไทย, 24 พฤศจิกายน 2559, 153-158.
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
[1] อนุสิทธิบัตรเลขที่ 16240 ระบบผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันกรดไขมันอิสระต่ำโดยใช้ใบกวน 2 รูปแบบร่วมกัน
[2] อนุสิทธิบัตรเลขที่ 15316 ระบบผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันกรดไขมันอิสระต่ำโดยใช้คลื่นไมโครเวฟร่วมกับท่อผสมแบบสถิต