การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม

ปีงบประมาณ 2566

O30การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม.pdf

ปีงบประมาณ 2565

กิจกรรมการประชุมผู้ปกครองนักเรียน  ประจำปีการศึกษา 2565 

โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ

1. เพื่อให้ผู้ปกครองได้รู้และเข้าใจถึงกฎระเบียบของทางโรงเรียน  สามารถนำไปอบรมสั่งสอนนักเรียนในปกครองได้

2. เพื่อให้ผู้ปกครองได้มีโอกาสพบปะกับครูประจำชั้นและรับทราบพฤติกรรมด้านการเรียน  ความประพฤติ การปรับตัวตามศักยภาพ และอื่น ๆ ของนักเรียน

3. เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ในการดูแลเอาใจใส่บุตรหลาน และร่วมกันหาแนวทางในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน       

4. เพื่อให้ผู้ปกครองได้มีโอกาสเสนอแนะแนวทางการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน  และสร้างความสัมพันธ์ที่ดี

ความร่วมมือระหว่างบ้านกับโรงเรียนในการป้องกัน  แก้ไขและพัฒนานักเรียน

5. เพื่อให้ผู้ปกครองร่วมมือร่วมใจในการสร้างเครือข่ายผู้ปกครองที่เข้มแข็ง เพื่อการดูแลช่วยเหลือนักเรียนร่วมกันระหว่างผู้ปกครองด้วยกัน และระหว่างผู้ปกครองกับโรงเรียน

6. เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือกับสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด 19

     ตัวแทนคณะครู บุคลากร โรงเรียนบ้านนาใหญ่ เข้าร่วมกิจกรรมประชุมหมู่บ้านเป็นประจำทุกวันที่ 8 ของเดือน มีการประชาสัมพันธ์การดำเนินงาน ข่าวสารของโรงเรียน แนะนำบุคลากรใหม่ ร่วมรับฟังและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับชาวบ้าน

 การประชุมคณะครู บุคลากร เพื่อวางแผน ระดมความคิด แลกเปลี่ยนความคิดเป็น เตรียมความพร้อมในการจัดการศึกษา และมีการติดตามประเมินผลการเรียนให้แก่นักเรียนอย่างต่อเนื่อง

ปีงบประมาณ 2564

     เนื่องด้วยในปีงบประมาณ 2564 (ครึ่งปีหลัง ปีการศึกษา 2564)  อยู่ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID-19) ทำให้โรงเรียนไม่สารถดำเนินการเปิดเรียนที่โรงเรียนได้ตามปกติจึงได้มีการจัดสรรงบประมาณอาหารกลางวัน และนมให้นักเรียนได้รัประทานที่บ้าน โดยมี นายศรีสินธิ์ ศรีนภาดร รองผอ.สพป.สฎ.2 เป็นผู้ติดตาม ตรวจเยี่ยมการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง

     การประชุมคณะครู บุคลากร เพื่อวางแผน ระดมความคิด แลกเปลี่่ยนความคิดเป็น เตรียมความพร้อมในการจัดการศึกษาให้แก่นักเรียนก่อนเปิดภาคเรียน

     วันที่ 12 มกราคม 2564 รับการตรวจเยี่ยมการดำเนิงานของโรงเรียน นำโดย นางมณีรัตน์ อินทร์คง ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษสพป.สุราษฎร์ธานี เขต 2 และคณะ มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกันเพื่อปรับปรุง พัฒนาการดำเนินงานของโรงเรียนให้ดียิ่งขึ้น

         วันที่ 9 ธันวาคม 2563 กิจกรรมการประชุมวิชาการเครือข่าย เพื่อร่วมปรึกษาหารือ ร่วมวางแผน ในการดำเนินการของฝ่ายวิชาการของแต่ละโรงเรียนในเครือข่ายสถานศึกษาขั้นพื้นฐานพุนพิน 2 (ตาปี)

     ตัวแทนคณะครู บุคลากร โรงเรียนบ้านนาใหญ่ เข้าร่วมกิจกรรมประชุมหมู่บ้านเป็นประจำทุกวันที่ 8 ของเดือน มีการประชาสัมพันธ์การดำเนินงาน ข่าวสารของโรงเรียน แนะนำบุคลากรใหม่ ร่วมรับฟังและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับชาวบ้าน

     วันที่ 14 กันยายน 2563 โรงเรียนบ้านนาใหญ่ ได้รับการประเมินการดำเนินงานในการป้องกันการแพร่ระบาดเชื้อโรค Covid-19 ซึ่งทางโรงเรียนได้ดำเนินการครบถ้วนตามมาตรการหลัก 6 ด้าน ได้เป็นอย่างดี

ปีงบประมาณ 2563

กิจกรรมการประชุมผู้ปกครองนักเรียน  ประจำปีการศึกษา 2563 ในช่วงวันที่  7 - 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2563 

โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ

1. เพื่อให้ผู้ปกครองได้รู้และเข้าใจถึงกฎระเบียบของทางโรงเรียน  สามารถนำไปอบรมสั่งสอนนักเรียนในปกครองได้

2. เพื่อให้ผู้ปกครองได้มีโอกาสพบปะกับครูประจำชั้นและรับทราบพฤติกรรมด้านการเรียน  ความประพฤติ การปรับตัวตามศักยภาพ และอื่น ๆ ของนักเรียน

3. เพื่อให้ผู้ปกครองตระหนักถึงบทบาทหน้าที่ในการดูแลเอาใจใส่บุตรหลาน และร่วมกันหาแนวทางในการดูแลช่วยเหลือนักเรียน       

4. เพื่อให้ผู้ปกครองได้มีโอกาสเสนอแนะแนวทางการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน  และสร้างความสัมพันธ์ที่ดี

ความร่วมมือระหว่างบ้านกับโรงเรียนในการป้องกัน  แก้ไขและพัฒนานักเรียน

5. เพื่อให้ผู้ปกครองร่วมมือร่วมใจในการสร้างเครือข่ายผู้ปกครองที่เข้มแข็ง เพื่อการดูแลช่วยเหลือนักเรียนร่วมกันระหว่างผู้ปกครองด้วยกัน และระหว่างผู้ปกครองกับโรงเรียน

กิจกรรมการประชุมคณะครูและบุคลากร เพื่อร่วมวางแผน แลกเปลี่ยนความคิดเห็น และติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน

     กิจกรรมการประชุมหมู่บ้าน ซึ่งจัดเป็นประจำในทุกวันที่ 8 ของเดือน  เป็นกิจกรรมที่ทางโรงเรียนได้ประชาสัมพันธ์ข่าวสารการดำเนินงานของโรงรียนให้หมู่บ้านได้รับทราบ และร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับชุมชน

โรงเรียนบ้านนาใหญ่ ใช้หลักธรรมาภิบาล (Good Governance) การกระจายอำนาจการมีส่วนร่วม เป็นปัจจัยที่สำคัญที่สุด ในการบริหารงานการศึกษาของโรงเรียน เพราะจะช่วยให้มีคณะบุคคลเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาของโรงเรียน และบริหารจัดการโรงเรียนให้มีประสิทธิภาพ เช่น การจัดกิจกรรมการสร้างหลักสูตรอันเหมาะสมของท้องถิ่นที่ทันสมัย ทันโลก ผสมผสานกับภูมิปัญญาของท้องถิ่น สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนและชุมชน ทำให้เกิดการประหยัดการใช้ทรัพยากร ในด้านต่างๆ อาทิ ทรัพยากร บุคคล งบประมาณ เพราะทุกภาคส่วนร่วมพัฒนาโดยเข้ามามีส่วนร่วม ในความรับผิดชอบ เพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ผลจกการเข้ามามีส่วนร่วมในการติดตามตรวจสอบ มีผลทำให้การจัดการศึกษาในท้องถิ่นดีขึ้น สอดคล้องกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการสร้างระบบบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี ข้อ ๔ หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี ที่ระบุไว้ในข้อย่อย ๔.๒ ว่าในการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี ควรจัดหรือส่งเสริมให้สังคมไทยอยู่บนพื้นฐานของหลักสำคัญอย่างน้อย ๖ ประการ คือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่าคุ้มทุน โดยเฉพาะ หลักการมีส่วนร่วม เพื่อเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมรับรู้การบริหารงานแบบมีส่วนร่วม เป็นเหตุผลที่จำเป็นต่อการบริหารโรงเรียน คือ

๑) ก่อให้เกิดความเข้าใจร่วมกันในการปฏิบัติงานที่มุ่งหวังความสำเร็จ

๒) กระบวนการตัดสินใจสามารถรองรับพฤติกรรมของบุคคลในโรงเรียนได้กว้างขวางและเกิดการยอมรับได้

๓) เป็นหลักการของการบริหารที่เป็นผลต่อกรดำเนินการเชิงวิเคราะห์ด้วยเหตุผลเพื่อ การระดมความคิด ซึ่งนำไปสู่การตัดสินใจได้

๔) ลดช่องว่างของระบบการสื่อสารในองค์กรและขจัดปัญหาความขัดแย้งได้

การปฏิบัติงานของโรงเรียนบ้านนาใหญ่ จะเป็นไปโดยการแบ่งหน้าที่การงานแต่ละ ฝ่ายตามคำสั่งมอบหมายหน้าที่ กรปฏิบัติงานตามคำสั่งเป็นลักษณะของการสั่งการ การประสบความล้มเหลวหรือประสบความสำเร็จของานในโรงเรียนเป็นสิ่งที่สมารถมีปัจจัยหลายอย่าง เช่น การทำงานเชิงบุคคลเป็นสำคัญ เป็นแนวทางซึ่งจะมีความสำเร็จ ที่เกิดขึ้นโดยการเสนอความคิด และร่วมกระทำ การจัดกระทำเพื่อโรงเรียนให้มีการพัฒนาและเร่งรัดจะต้องก่อให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วม โรงเรียนจัดให้บุคลากรมีส่วนร่วมต่อกันถือความคิดเห็นในทิศทางของ

๑) ลักษณะของปัญหาหรือความต้องการที่จะแก้ไขหรือตัดสินใจ บนพื้นฐานของบุคคลที่รับรู้

๒) การเรียนรู้ว่าสิ่งที่เป็นความต้องการเพื่อแก้ไขหรือข้อมูลของปัญหามีที่มาและอยู่ในทิศทางใด

๓) การนำเสนอแนวทางแก้ไขปัญหา โดยเหตุและผลซึ่งเป็นการระดมจากความคิดบุคคล เอกสารหรือข้อเสนอ หรือข้อมูลต่าง ๆ อย่างเป็นรูปธรรม

๔) การประเมินผลลัพธ์ว่ามีความเป็นไปได้อย่างไรมีข้อจำกัดหรือมีความเสี่ยงอย่างไร

๕) การตัดสินใจของผู้บริหาร การหาทางเลือกในการตัดสินใจ เหตุผลของการตัดสินใจ และผลลัพธ์ที่ได้

ทั้งหมดเป็นสิ่งที่ต้อมาจกความคิดในบุคคลทุกระดับร่วมกันเสนอหรือให้ข้อมูลหรือวินิจฉัยเป็นมูลฐานขั้นของความสำเร็จที่ส่งผลให้เกิดการมีส่วนร่วม ประกอบด้วย

๑ การเรียนรู้ในกิกรมของตนหรือหน้าที่ของตนเองอย่างต่อเนื่อง เป็นผลต่อความรู้สึกในการอยากรู้ อยากเข้าใจ และอยากเข้ไปมีส่วนร่วม (เป็นการทำการบ้านเพื่อตนเอง)

๒. สไตล์การทำงานของแต่ละบุคคล เป็นโอกาสของการเลือกเพื่อให้ตนเองก้าวต่อไปหรือได้รับการสนับสนุน

๓. ความมีอารมณ์ที่มั่นคง

๔ การยอมรับจุดอ่อนของตนเอง หรือความบกพร่องต่าง ๆ ของตนเอง

๕ รู้ตนเอง (จุดแข็งที่มีอยู่หรือศักยภาพของตนเอง)

๖. มีความคิดเห็นในเชิงทะเยอทะยาน โดยเป้าหมายเป็นจุดน่าทดลองเสี่ยงเพื่อความสำเร็จในงาน

๗ สร้างข่ายงานได้ โดยมีการพึ่งพาต่อกัน ทั้งเพื่อน, ผู้บังคับบัญชา หรือผู้ใต้บังคับบัญชา

๘. เรียนรู้การทำงานเป็นกลุ่มว่ามีขั้นตอนอย่างไร

๙. เรียนรู้ที่จะเงียบ เป็นแบบแผนการทำงาน