รายงานการกำกับติดตามการ

ดำเนินงานประจำปี รอบ 6 เดือน

ชื่อโครงการ พัฒนาบุคลากร

ชื่อกลยุทธ์ ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพการศึกษาบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

สนองกลยุทธ์โรงเรียน : กลยุทธ์ที่ 5

สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : มาตรฐานที่ 2 ประเด็นที่ 2.4

ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนิลุบล บุญไชย

กลุ่มที่รับผิดชอบ กลุ่มบริหารงานบุคคล

ระยะเวลาดำเนินการ ตลอดปีการศึกษา

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. หลักการและเหตุผล

การเรียนรู้ในปัจจุบันของบุคลากร สามารถเรียนรู้ได้จากการจัดอบรมของหน่วยงาน

ต้นสังกัด จากสถาบันการศึกษา และหน่วยงานอื่นๆ ครูจึงต้องศึกษาหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเอง และนำความรู้ใหม่ๆ มาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น

2. วัตถุประสงค์

เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรในโรงเรียนได้รับการพัฒนาให้มีประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน

3. เป้าหมายเชิงปริมาณและคุณภาพ

เป้าหมายเชิงปริมาณ

บุคลากรภายในโรงเรียน ร้อยละ 100 ได้เข้ารับการอบรม ศึกษาดูงาน จากหน่วยงาน

ต้นสังกัดจากสถาบันทางการศึกษา และ หน่วยงานอื่นๆ

เป้าหมายเชิงคุณภาพ

โรงเรียนมีประสิทธิภาพในการบริหารการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาของผู้เรียนเป็นสำคัญครูพัฒนาสื่อและจัดหาสื่อใหม่ๆอยู่เสมอ

4. กิจกรรม / รายละเอียดการใช้งบประมาณ(งบประมาณทั้งสิ้น 2,000 บาท)

กิจกรรมสำคัญ

งบประมาณจำแนกตามรายจ่าย



ปฏิทิน

ผู้รับผิดชอบ


ค่าตอบ

แทน

ค่าใช้สอย

ค่าวัสดุ



1.ประชุมชี้แจง

-

-

-

15 พ.ค. 2564

ผอ. คณะครู ทุกคน

2.พัฒนาบุคลากรเข้าศึกษาอบรม/

ศึกษาดูงาน

-

1,000

-

ตลอดปีการศึกษา

นางสาวนิลุบล

3.พัฒนาการผลิตจัดหา ใช้สื่อ และจัดทำวิจัย

-

-

500

ตลอดปีการศึกษา

ครูทุกคน

4.สร้างขวัญและกำลังใจครู และบุคลากรทางการศึกษา

-

500

ตลอดปีการศึกษา

ผอ.ร.ร.

5.สรุปและรายงานผล

-

-

-

เม.ย. 2565

นางสาวนิลุบล

5. หน่วยงาน / ผู้ที่เกี่ยวข้อง

- ผู้บริหารสถานศึกษา , ครูผู้สอน ,หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

6. ระดับความสำเร็จ

ตัวบ่งชี้ความสำเร็จ

วิธีการประเมิน

เครื่องมือ

1. บุคลากรครูร้อยละ 100 ในโรงเรียนได้รับการพัฒนา

- สัมภาษณ์

-แบบสำรวจรายการ

2. . บุคลากรครู ได้ผลิต จัดหาสื่อ และทำการวิจัย

จัดหาและผลิตสื่อ,

การทำวิจัย

สื่อ , นวัตกรรม

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1 ครูทุกคนมีแผนการจัดการเรียนการสอน

7.2 ครูมีการผลิตสื่อและใช้สื่อ.ทำวิจัย

7.3 ครูได้รับการอบรมทุกคนและมีการศึกษาดูงาน

ลงชื่อ........................................ผู้เสนอโครงการ

(นางสาวนิลุบล บุญไชย)

ตำแหน่งครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ.

ลงชื่อ.......................................ผู้อนุมัติโครงการ

(นายสราวุฒิ ประเสริฐสังข์)

ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนโคกเจริญวิทยา


ชื่อโครงการ พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

ชื่อกลยุทธ์ ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพการศึกษาบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

สนองกลยุทธ์โรงเรียน : กลยุทธ์ที่ 5

สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : มาตรฐานที่ 2 ประเด็นที่ 2.2

ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอำพร ภูเด่นผา

กลุ่มที่รับผิดชอบ กลุ่มบริหารงานวิชาการ

ระยะเวลาดำเนินการ ตลอดปีการศึกษา

1. หลักการและเหตุผล

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)

พ.ศ.2545 หมวด 6 มาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อมุ่งพัฒนาคนให้มีความสมดุลทั้งด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ ความดีงามและความรับผิดชอบต่อสังคม ทั้งนี้ให้สถานศึกษาร่วมกับองค์กรที่เกี่ยวข้องส่งเสริมสนับสนุนชุมชนให้มีเลือกสรรภูมิปัญญา วิทยากร วิธีการสนับสนุนให้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การพัฒนา ตลอดจนให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้กฎกระทรวง

ว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ.2553 ข้อ 14(2) (4) (8) ระบุให้สถานศึกษาขั้นพื้นฐานจัดทำ ดำเนินการตามแผนพัฒนาการศึกษาและจัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษา จากความสำคัญดังกล่าว โรงเรียนโคกเจริญวิทยาจึงได้จัดการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา เพื่อให้สอดคล้องกับการประกันภายนอกต่อไป

2. วัตถุประสงค์

2.1 เพื่อพัฒนาระบบการศึกษาให้เหมาะสมสอดคล้องกับเป้าหมายการศึกษาผู้เรียนและความต้องการของ ท้องถิ่น

2.2 เพื่อกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

2.3 เพื่อจัดทำและดำเนินการตามแผนพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งพัฒนาคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

3. เป้าหมายเชิงปริมาณและคุณภาพ

เป้าหมายเชิงปริมาณ

3.1 ครูผู้สอนโรงเรียนโคกเจริญวิทยาร้อยละ 100 มีส่วนร่วมในการประเมินแผนปฏิบัติราชการประจำปีและ SAR

3.2 ครูร้อยละ 100 จัดทำระบบบริหารและสารสนเทศ

3.2 ผู้เกี่ยวข้องหรือผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่าย มีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 85

เป้าหมายเชิงคุณภาพ

สถานศึกษามีสื่อการจัดประสบการณ์เรียนรู้เหมาะสมและเอื้อต่อการเรียนรู้และโรงเรียนมีคุณภาพได้ตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาและผ่านเกณฑ์การประเมินคุณภาพภายนอ

4. กิจกรรม / รายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณ( งบประมาณทั้งสิ้น 500 บาท )

รายการ/กิจกรรมสำคัญ

งบประมาณจำแนกตามรายจ่าย



ระยะเวลา

ผู้รับผิดชอบ


ค่าตอบ แทน

ค่า ใช้สอย

ค่าวัสดุ



1. ประชุมชี้แจงผู้เกี่ยวข้อง/ วางแผนการปฏิบัติงาน

-

-

-

15 พ.ค. 2564

ผอ.ร.ร.และคณะครูทุกคน

2.จัดทำ SAR

-

200

มี.ค. 2564

นางธิรนันท์และคณะครู

3.จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาและแผนปฏิบัติการประจำปี

-

-

200

พ.ค. 2564

นางธิรนันท์ ภและครู

4. จัดทำระบบบริหารและสารสนเทศ

-

-

100

พ.ค. 2564

นายพีรสิทธิ์

5.กำหนดมาตรฐาน ภาระงาน

-

-

พ.ค. 2564

ผอ.ร.ร

และคณะครู

6. สรุปรายงานผลโครงการ

-

-

-

เม.ย. 2565

นางธิรนันท์

5. หน่วยงาน / ผู้ที่เกี่ยวข้อง

5.1 ครูผู้สอนโรงเรียนโคกเจริญวิทยา

5.2 ผู้แทนชุมชน ผู้ปกครอง/ภูมิปัญญาท้องถิ่น

6. ระดับความสำเร็จ

ตัวบ่งชี้ความสำเร็จ

วิธีการประเมิน

เครื่องมือ

1. ครูผู้สอนโรงเรียนโคกเจริญวิทยาร้อยละ 100 มีส่วนร่วมในการประเมินแผนปฏิบัติราชการประจำปีและจัดทำ SAR

- การประเมินแผนปฏิบัติราชการประจำปีและ SAR

- แบบประเมินแผน

- การจัดทำ SAR

2.ครูร้อยละ 100 จัดทำระบบบริหารและสารสนเทศ

- จัดทำสารสนเทศ

- ระบบจัดทำสารสนเทศ

3. ผู้มีส่วนร่วมร้อยละ 85 มีความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน

- สำรวจ/สอบถาม

ความคิดเห็น

- แบบสำรวจ/สอบถามความคิดเห็น

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1 สถานศึกษามีแผนปฏิบัติราชการประจำปี ที่มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา

7.2 สถานศึกษามีการบริหารจัดการศึกษาที่เป็นระบบและทุกฝ่ายมีส่วนร่วม

7.3 มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานของสถานศึกษา

7.4 สถานศึกษามีการจัดทำ SAR และรายงานต้นสังกัดทันตามเวลาที่กำหนด

ลงชื่อ........................................ผู้เสนอโครงการ

(นางอำพร ภูเด่นผา)

ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ

ลงชื่อ.......................................ผู้อนุมัติโครงการ

(นายสราวุฒิ ประเสริฐสังข์ )

ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนโคกเจริญวิทยา


ชื่อโครงการ พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา

ชื่อกลยุทธ์ ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพการศึกษาบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน

สนองกลยุทธ์โรงเรียน : กลยุทธ์ที่ 5

สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : มาตรฐานที่ 2 ประเด็นที่ 2.2

ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง

ผู้รับผิดชอบ นางอำพร ภูเด่นผา

กลุ่มที่รับผิดชอบ กลุ่มบริหารงานวิชาการ

ระยะเวลาดำเนินการ ตลอดปีการศึกษา

1. หลักการและเหตุผล

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มาตรา 24 (5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ จัดสภาพแวดล้อม สื่อการเรียน และอำนวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และมีความรอบรู้ ซึ่งทางโรงเรียนมีนโยบายที่จะนิเทศเพื่อติดตาม และส่งเสริมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระหว่างผู้บริหารกับครูผู้สอน และระหว่างครูด้วยกัน นำผลมาประเมินเพื่อหาแนวทางการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพ และจัดการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นสำคัญ

2. วัตถุประสงค์

เพื่อส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรให้มีประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน

3. เป้าหมายเชิงปริมาณ

เป้าหมาย เชิงปริมาณ

3.1 ครูร้อยละ 100 ได้รับการนิเทศ

3.2 ครูร้อยละ 100 จัดทำงานธุรการได้ถูกต้อง

3.3 ครูร้อยละ 100 จัดทำป้ายนิเทศ

เป้าหมาย เชิงคุณภาพ

3.4 ให้มีการประชุมก่อนเปิดและปิดเรียนภาคเรียนทุกภาคเรียน

3.5 การประชุมทางวิชาการอย่างน้อยเดือนละ 1 ครั้ง ตลอดปี

3.6 นิเทศเยี่ยมชั้นเรียนทุกชั้นเรียนอย่างน้อยภาคเรียนละ1 ครั้ง

4. กิจกรรม / รายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณ ( งบประมาณทั้งสิ้น 500 บาท )

กิจกรรมสำคัญ

งบประมาณจำแนกตามรายจ่าย



ระยะเวลา

ผู้รับผิดชอบ


ค่าตอบ แทน

ค่าใช้สอย

ค่าวัสดุ



1. ประชุมชี้แจงคณะทำงาน เพื่อจัดทำปฏิทินการนิเทศ และเครื่องมือในการนิเทศ

-

-

-

15 พ.ค.63

ผอ.รร. และคณะครู

2. ดำเนินการนิเทศในโรงเรียน

- นิเทศการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน

- ตรวจงานธุรการในชั้นเรียน

-

-

-

ต.ค.2563 – มี.ค.2564

ผอ.รร.และวิชาการ

4.การจัดป้ายนิเทศ

400

ก.ค. 2563

ครูทุกคน

5.จัดทำแผนนิเทศ

100

ก.ค. 2563

นายพีรสิทธิ์

3.สรุปโครงการ/ประเมินผล

-

-

-

เม.ย. 2564

นางธิรนันท์

5. หน่วยงาน / ผู้ที่เกี่ยวข้อง

5.1 ผู้อำนวยการโรงเรียน

5.2 ครูวิชาการ , ผู้สอนโรงเรียน

6. ระดับความสำเร็จ

ตัวบ่งชี้ความสำเร็จ

วิธีการประเมิน

เครื่องมือ

1. ครูร้อยละ 100 ในโรงเรียนได้รับการนิเทศ

-สอบถาม

-สัมภาษณ์

-รายงานการนิเทศ

- แบบสอบถาม

- แบบสัมภาษณ์

-แบบรายงานผลนิเทศ

2.ครูร้อยละ 100 ทำงานธุรการในห้องเรียนถูกต้องและเป็นปัจจุบัน

-ตรวจงานธุรการในชั้นเรียน

-แบบบันทึกการนิเทศ

3. ครูร้อยละ 100 จัดทำป้ายนิเทศ

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1 ครูในโรงเรียนมีประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอน

7.2 ครูในโรงเรียนมีประสิทธิภาพในการทำงานได้อย่างเป็นระบบและเป็นปัจจุบัน

ลงชื่อ........................................ผู้เสนอโครงการ

(นางอำพร ภูเด่นผา)

ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการพิเศษ

ลงชื่อ.......................................ผู้อนุมัติโครงการ

(นายสราวุฒิ ประเสริฐสังข์)

ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนโคกเจริญวิทยา


ชื่อโครงการ จัดจ้างครูอัตราจ้าง

ชื่อกลยุทธ์ พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษายกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนให้ สูงขึ้น

สนองกลยุทธ์โรงเรียน : กลยุทธ์ที่ 2

สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษา : มาตรฐานที่ 2 ประเด็นที่ 2.2

ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ นางอำพร ภูเด่นผา

กลุ่มที่รับผิดชอบ การบริหารงานบุคคล

ระยะเวลาดำเนินการ ปีการศึกษา

*********************************************************************************************

๑. หลักการและเหตุผล

สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ แต่ในปัจจุบันโรงเรียนโคกเจริญวิทยาขาดครูผู้สอน เนื่องจากครูไม่ครบชั้นเรียน จึงทำให้ การพัฒนาประสิทธิภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนลดต่ำลง แนวทางการแก้ไข ต้องพัฒนาครูและจัดจ้างครูตามความต้องการและความจำเป็นของสถานศึกษา จากปัญหาดังกล่าวนี้ โรงเรียนได้นำเสนอต่อ คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานโรงเรียนโคกเจริญวิทยา เพื่อรับทราบปัญหา เพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา อีกประการสำคัญยิ่ง ทางโรงเรียนได้มีจำนวนนักเรียนเพิ่มขึ้น จำเป็นอย่างยิ่งต้องจัดจ้างครูเพิ่ม เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านการเรียนการสอน ที่จะส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ของนักเรียน และ ผู้ปกครองมีความพึงพอใจ ในการจัดการศึกษา จึงได้จัดโครงการจัดจ้างครูอัตราจ้างขึ้น

๒. วัตถุประสงค์

๑. เพื่อจัดหาและจัดจ้างครูให้มีจำนวนที่พอเพียง

๒. เพื่อจัดจ้างครูที่มีความรู้และความสามารถ ตรงกับความต้องการของทางโรงเรียน

๓. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ประสิทธิผล และการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนให้สูงขึ้น

๓. เป้าหมายเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ

เป้าหมายเชิงปริมาณ

- มีครูอัตราจ้างจำนวน 2 คน

เป้าหมายเชิงคุณภาพ

- มีครูอัตราจ้างร้อยละ 100

กิจกรรม

ค่าใช้จ่ายแยกตามหมวด



ระยะเวลา

ผู้รับผิดชอบ


ค่าตอบ

แทน

ค่าใช้สอย

ค่าวัสดุ



๑.จัดทำโครงการเพื่อขออนุมัติจากผู้บริหารโรงเรียน

-

-

-

มี.ค.64

นายสราวุฒิ

๒.จัดทำคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงานตามโครงการ

-

-

-

มี.ค.64

นายสราวุฒิ

กรรมการสถานศึกษา

๓.ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนการดำเนินงานกำหนดหลักเกณฑ์ ในการจัดจ้างครูอัตราจ้าง

-

-

-

มี.ค.64

คณะกรรมการที่ได้รับการแต่งตั้ง ตามคำสั่ง

๔ กิจกรรมที่ดำเนินการ ดังต่อไปนี้

๔.1 จัดทำสัญญาจ้าง ครูอัตราจ้างลงนาม

๔.๒ นำเสนอ ผู้บริหารสถานศึกษา

-

-

1 เม.ย63- 30 ก.ย.64

1 ต.ค.64-31 มี.ค.65


คณะกรรมการ

ผู้บริหารสถานศึกษา

๕. มอบหมายงานเป็นครูประจำชั้น/ครูประจำกลุ่มสาระมอบนโยบายการปฏิบัติงาน

ที่พัฒนาผู้เรียน


พ.ค.64-มี.ค.65

ผู้อำนวยการโรงเรียน

ครูอัตราจ้าง

๖. ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญและทำการวิจัยในชั้นเรียนและภาระงานอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย


พ.ค.64-มี.ค.65

ผู้อำนวยการโรงเรียน

ครูอัตราจ้าง

๗. ผู้อำนวยการโรงเรียน จัดทำแผนงานปฏิบัติการนิเทศและจัดทำแบบสังเกตการนิเทศ


พ.ค.64-มี.ค.65

นายสราวุฒิ

๘. แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินผลการปฏิบัติงานของครูอัตราจ้าง

พ.ค.64-มี.ค.65

นายสราวุฒิ

ผู้อำนวยการโรงเรียน

และคณะกรรมการ

๔. วิธีดำเนินงาน

๕ .งบประมาณ จำนวน 66,000 บาท เป็นค่าใช้จ่ายดังนี้

- ค่าจ้างเดือนละ 5,000 บาท

๖. การติดตามและประเมินผล

ตัวชี้วัดความสำเร็จ

วิธีประเมิน

เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน

๑. ครูมีแผนจัดการเรียนเรียนรู้ ในกลุ่มสาระที่มอบหมาย

และมีแนวทางการวัดประเมินผล ในเชิงประจักษ์

- ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้

-แผนการเรียนรู้ผู้เรียนเป็นรายบุคคล

-แบบทดสอบประจำกลุ่มสาระ

แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้

งานธุรการชั้นเรียน (ปพ.)

๒. ครูปฏิบัติงานตามแบบแผนที่ทาง สถานศึกษา หรือ งานนโยบายที่ผู้บริหารมอบหมายอย่างชัดเจน

-ตรวจแผนปฏิบัติการประจำปี

-วิจัยในชั้นเรียน

-งานมอบหมายเป็นคำสั่ง

-แผนการจัดการเรียนรู้

-ระเบียนสะสม

-แบบประเมินรายบุคคล

๓. ครูมีการพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง

ผู้บริหารมอบหมาย ให้อบรม สัมมนา

งานที่หน่วยงานต้นสังกัด ศูนย์เครือข่าย เขตพื้นที่ สพฐ.

มอบหมาย ให้ปฏิบัติ

- ตรวจแผนการการปฏิบัติงาน

- สังเกตการสอน

- แบบตรวจสอบ

- แผนการจัดการเรียนรู้

- แบบสังเกตการณ์การ

สอน

๗. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

มีครูครบชั้นเรียน มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น

ลงชื่อ…………………………………………. ผู้เสนอโครงการ

(นางอำพร ภูเด่นผา)

ตำแหน่งครู วิทยฐานะ ชำนาญการพิเศษ


ลงชื่อ……………………………………….. ผู้อนุมัติโครงการ

(นายสราวุฒิ ประเสริฐสังข์)

ผู้อำนวยการโรงเรียนโคกเจริญวิทยา


ชื่อโครงการ พัฒนาและใช้แหล่งเรียนรู้

ชื่อกลยุทธ์ สร้างเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทุกคนมีสุขภาพกายและจิตที่ดี

สนองกลยุทธ์โรงเรียน : กลยุทธ์ที่ 3

สนองคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : มาตรฐานที่ 2 ประเด็นที่ 2.5

ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนารีลักษณ์ ชิณแสน

กลุ่มที่รับผิดชอบ กลุ่มบริหารงานวิชาการ การบริหารงานทั่วไป

ระยะเวลาดำเนินการ ตลอดปีการศึกษา

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. หลักการและเหตุผล

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และ ที่แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 หมวด 4 แนวจัดการศึกษา มาตรา 24 กระบวนการจัดการเรียนรู้ ให้สถานศึกษาและหน่วยงาน ดำเนินการดังนี้ (5) ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้สอนจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สื่อการเรียนเรียนและอำนวยความสะดวกเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรู้ รวมทั้งสามารถในการจัดการวิจัยเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ทั้งนี้ ผู้สอนและผู้เรียนเรียนอาจเรียนไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหล่งวิทยาการประเภทต่าง ๆ

จากความสำคัญดังกล่าวนี้ โรงเรียนโคกเจริญวิทยา จึงได้ดำเนินการจัดพัฒนาแหล่งเรียนรู้และปรับ ปรับภูมิทัศน์ในโรงเรียนให้สวยงามและมีความปลอดภัยแก่ผู้เรียน ดังนี้ จัดตกแต่จัดบรรยากาศห้องเรียนให้สะอาดและสวยงาม ตกแต่งสวนหย่อม ปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน ห้องน้ำนักเรียน จัดแปลงเกษตรพอเพียง สนามเด็กเล่น พร้อมจัดสภาพแวดล้อมอื่น ๆ ภายในโรงเรียน ให้สวยงาม ร่มรื่น และเป็นแหล่งเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนมีส่วนร่วม ในการดูแลรักษา เห็นคุณค่า มีใจรัก ร่วมกันเป็นเจ้าของและเกิดความภาคภูมิใจ ในโรงเรียนและให้สัญลักษณ์ของชุมชนสืบไป

2. วัตถุประสงค์

เพื่อให้โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนและเป็นแหล่งเรียนรู้

ตลอดเวลา

3. เป้าหมาย เชิงปริมาณ

เป้าหมายเชิงปริมาณ

3.1 บริเวณโรงเรียนได้รับการปรับปรุงร้อยละ 100

3.2 สนามเด็กเล่นได้รับการปรับปรุงซ่อมแซม ร้อยละ 100

3.3 อาคารเรียนอาคารเอนกประสงค์ได้รับการปรับปรุงร้อยละ 100

เป้าหมายเชิงคุณภาพ

ภูมิทัศน์ภายในโรงเรียนร่มรื่น สวยงาม แข็งแรง ปลอดภัยเป็นแหล่งเรียนรู้ได้

4. กิจกรรม / รายละเอียดการใช้จ่ายงบประมาณ(งบประมาณทั้งสิ้น 16,000 บาท)

กิจกรรมสำคัญ

งบประมาณจำแนกตามรายจ่าย



ระยะเวลา

ผู้รับผิดชอบ


ค่า ตอบแทน

ค่า ใช้สอย

ค่าวัสดุ



1.ประชุมชี้แจง/ขออนุมัติดำเนินโครงการ

-

-

-

15 พ.ค

2564

ผอ.ร.ร. และ

คณะครู

3.กิจกรรมปรับปรุงสภาพแวดล้อมบริเวณโรงเรียน

-

-

3,000

พ.ย. 2564

นารีลักษณ์

5.จัดสนามเด็กเล่นให้ปลอดภัย

-

-

5,000

ตลอดปีการศึกษา

นางสาวนิลุบล

6.ปรับปรุงห้องเรียน ,อาคารเรียน อาคารประกอบ

-

-

4,000

ตลอดปีการศึกษา

ครูทุกคน

7.ปรับปรุงแหล่งเรียนรู้

-

-

2,000

ตลอดปีการศึกษา

นารีลักษณ์

8.การใช้แหล่งเรียนรู้

-

-

2,000

ตลอดปีการศึกษา

ครูทุกคน

9.สรุปรายงานผล

-

-

-

เม.ย.2565

นารีลักษณ์

5. หน่วยงาน/ผู้เกี่ยวข้อง

คณะครู บุคลากรทางการศึกษา นักเรียนทุกคนในโรงเรียน

6. ระดับความสำเร็จ

ตัวบ่งชี้ความสำเร็จ

วิธีการวัดและประเมินผล

เครื่องมือที่ใช้วัด

1. โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ร้อยละ 100

- สังเกต

- แบบสังเกต

2. ผู้ปกครองมีความพึงพอใจต่อแหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษา

-สังเกต สัมภาษณ์

-แบบบันทึกความพึงพอใจ

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนเป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดเวลามีความปลอดภัยและ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ

ลงชื่อ......................................... ผู้เสนอโครงการ

(นางสาวนารีลักษณ์ ชิณแสน)

ตำแหน่ง พนักงานราชการ

ลงชื่อ.......................................... ผู้อนุมัติโครงการ

(นายสราวุฒิ ประเสริฐสังข์)

ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนโคกเจริญวิทยา


ชื่อโครงการ เครือข่ายผู้ปกครองสานสัมพันธ์บ้าน วัด โรงเรียน

ชื่อกลยุทธ์ ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพการศึกษาบริหารจัดการโดยใช้โรงเรียน เป็นฐาน

สนองกลยุทธ์โรงเรียน : กลยุทธ์ที่ 5

สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา : มาตรฐานที่ 2 ประเด็นที่ 2.2

ลักษณะโครงการ โครงการต่อเนื่อง

ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวนารีลักษณ์ ชิณแสน และนางสาวจิราภรณ์ แก้วพรม

กลุ่มที่รับผิดชอบ กลุ่มบริหารงานทั่วไป

ระยะเวลาดำเนินการ ตลอดปีการศึกษา

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

1. หลักการและเหตุผล

การจัดการเรียนการสอนในยุคปฏิรูปการศึกษามีการพัฒนาให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่สูงขึ้นนั้น ต้องอาศัยความร่วมมือกันระหว่างโรงเรียน องค์กร และชุมชน เพื่อเป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชุน โดยโรงเรียนเป็นศูนย์กลางในการให้ข่าวสาร การบริการทั้งในด้านการศึกษา กีฬา อาชีพ วัฒนธรรม ประเพณี เพื่อให้เกิดพลังในการพัฒนาการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ จึงต้องมีการบริหารแบบมีส่วนร่วมขององค์กรต่างๆเพื่อให้การจัดการเรียนการสอนมีประสิทธิภาพต่อไป

2. วัตถุประสงค์

เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน และชุมชนมีความพึงพอใจ

3. เป้าหมาย เชิงปริมาณและคุณภาพ

เป้าหมาย เชิงปริมาณ

3.1 ผู้ปกครองร้อยละ 95 ให้ความร่วมมือที่ดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน

3.2 โรงเรียนจัดทำจุลสาร สิ่งพิมพ์เผยแพร่ข่าวสารโรงเรียนต่อชุมชนอย่างน้อย ภาคเรียนละ 1 ครั้ง

3.3 ผู้ปกครองนักเรียนให้การสนับสนุน ส่งเสริม และมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา

เป้าหมาย เชิงคุณภาพ

ผู้ปกครองได้ร่วมกันปลูกฝังให้นักเรียนประพฤติตนให้เหมาะสมกับการเป็นลูกที่ดี มีส่วนร่วมดูแลนักเรียนไม่ขาดเรียน มาโรงเรียนทันเวลา ไม่ให้มีปัญหาด้านการปกครอง และการเรียน

4. กิจกรรม/รายละเอียดการใช้งบประมาณ(งบประมาณทั้งสิ้น 1,500 บาท)

กิจกรรมสำคัญ

งบประมาณจำแนกตามรายจ่าย



ระยะเวลา

ผู้รับผิดชอบ


ค่าตอบ แทน

ค่าใช้สอย

ค่าวัสดุ



ขออนุมัติโครงการ

-

-

-

พ.ค 2564

น.ส.นารีลักษณ์

น.ส.จิราภรณ์

แต่งตั้งครูประจำคุ้ม/หมู่บ้าน

-

-

-

พ.ค.2564

ผอ.

ประชุมผู้ปกครองนักเรียน

-

1,000

-

พ.ค.2564

คณะครู

ประชุมคณะกรรมการสถานศึกษา

-

500

-

พ.ค,พ.ย. 2564

นางธิรนันท์

จัดทำวารสารภาคเรียนละ 1 ครั้ง

-

-

-

ก.ย ,ต.ค 2564

นายพีรสิทธิ์

สรุปโครงการ/กิจกรรม

-

-

-

เม.ย 2565

น.ส.นารีลักษณ์

น.ส.จิราภรณ์

5. หน่วยงาน / ผู้เกี่ยวข้อง

5.1 ครูผู้สอนในโรงเรียน

5.2 ชุมชน ผู้ปกครอง

5.3 นักเรียน

6. ระดับความสำเร็จ

ตัวบ่งชี้ความสำเร็จ

วิธีการประเมิน

เครื่องมือที่ใช้วัด

1. ผู้ปกครองให้ความร่วมมือที่ดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน

-สัมภาษณ์

-สอบถามความพึงพอใจ

- แบบสอบถามความพึงพอใจ

2โรงเรียนจัดทำจุลสาร สิ่งพิมพ์เผยแพร่ข่าวสารโรงเรียนต่อชุมชน

- สังเกต

- สอบถาม

-แบบสังเกต

- แบบสอบถาม

3. โรงเรียน ผู้ปกครองมีส่วนร่วมดูแลนักเรียนไม่ขาดเรียน มาโรงเรียนทันเวลา ไม่ให้มีปัญหาด้านการปกครอง และการเรียน

- สอบถาม

- ดูสภาพจริง

- แบบสอบถาม

7. ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1 ชุมชนมีการเข้าร่วมกิจกรรม

7.2 ชุมชนความพึงพอใจในกิจกรรมโรงเรียน

7.3 มีการประชุมกรรมการสถานศึกษาอย่างน้อยภาคเรียนละ 1 ครั้ง

ลงชื่อ........................................ผู้เสนอโครงการ ลงชื่อ........................................ผู้เสนอโครงการ (นางสาวนารีลักษณ์ ชิณแสน) (นางสาวจิราภรณ์ แก้วพรม)

ตำแหน่ง พนักงานราชการ ตำแหน่ง ครูอัตราจ้าง

ลงชื่อ.......................................ผู้อนุมัติโครงการ

(นายสราวุฒิ ประเสริฐสังข์)

ตำแหน่งผู้อำนวยการโรงเรียนโคกเจริญวิทยา