1.1 การจัดการหลักสูตร

ดำเนินการจัดการวิเคราะห์หลักสูตร มาตรฐานนการเรียนรู้เเละตัวชี้วัด เพื่อนำไปจัดทำรายวิชา โครงสร้างรายวิชา ศิลปะพื้นฐาน(ดนตรี) ให้สอดคล้องกับหลักสูตรเเกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) เเละหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนโพธินิมิตวิทยาคม ริเริ่ม รายวิชา ศิลปะพื้นฐาน(ดนตรี) เรื่องของทฤษฎี และ ภาคปฏบัติ ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ตามหลักสูตร บริบทของโรงเรียน ผู้เรียน สามารถเเก้ไขปัญหาในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาสมรรถนะเเละการเรียนรู้ เต็มตามศักยภาพ ส่งผลให้คุณภาพการจัดการเรียนรู้สูงขึ้น เเละเป็นเเบบอย่างได้ 

คำอธิบายรายวิชา สาระศิลปะ.docx
โครงสร้างหลักสูตรสาระศิลปะ.docx

1.2 การจัดทำหน่วยการเรียนรู้

แผนการจัดการเรียนรู้และตัวชี้วัดมีรายละเอียดสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ได้จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่หลากหลาย มีรูปแบบที่เห็นผลเป็นรูปธรรมและเหมาะสมกับผู้เรียนสามารถนำไปปฏิบัติได้จริง โดยมีสื่อ/นวัตกรรมการสอนที่สอดคล้องกับตัวชี้วัดและกิจกรรมการสอนพร้อมการวัดผลประเมินผลที่หลากหลายรูปแบบ และสอดคล้องกับตัวชี้วัด ซึ่งแผนการจัดการเรียนรู้ที่จัดทำขึ้นนั้นสามารถส่งผลให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาในด้านความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการ สมรรถนะ และคุณลักษณะที่ พึงประสงค์  ส่งผลให้นักเรียนสามารถสร้างชิ้นงาน/ผลงานอย่างสร้างสรรค์ด้วยตนเองได้  และผลจากการบันทึกหลังการสอนสามารถนำไปทำวิจัยในชั้นเรียนเรื่อง ผลจาการทำวิจัยในชั้นเรียน ทำให้สามารถนำมาพัฒนาและปรับปรุงแผนการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมยิ่งขึ้น



Blue print ห้องดนตรี ปี2-1 ทฤษฎีดนตรี.pdf
Blue print ห้องดนตรี ปี2-1 ปฏิบัติดนตรี.docx.pdf
Blue print ห้องดนตรี ม.4-1 ทฤษฎีดนตรี.docx.pdf
แผนการสอน3เทอม1(2565).docx
Blue print ทฤษฎีดนตรีม.5.docx

ปีการศึกษา2566

Blue print ม5.docx

ปีการศึกษา2566

แผนการสอน3เทอม2 (2565).pdf

แผนการสอนเทอม2/2565

โครงการสอนเพิ้มเติมดนตรี ม3 เทอม 2 2565.pdf

โครงการสอนเทอม2/2565

แผนการจัดการเรียนรู้ม5.pdf

แผนการสอน เทอม1/2566

โครงสร้างการเรียนรู้ม5.pdf

แผนการสอน เทอม1/2566

แผนการเรียนรู้ที่ วิชาศิลปะพื้นฐาน4ศ32102.pdf

แผนการสอน เทอม2/2566

โครงสร้างการเรียนรู้นาฏศิลป์รายวิชาศิลปะพืนฐาน ม.5.docx.pdf

แผนการสอน เทอม2/2566

1.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

มีการริเริ่ม คิดค้น เเละพัฒนานวัตกรรมต่างๆ โดยให้นักเรียนได้ศึกษา โดยเป็นการเเก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้ภาคทฤษฎีให้มีความน่าสนใจมากกว่าการเรียนรู้ผ่าน Powerpoint หรือหนังสือ ทำให้ผู้เรียนรู้สึกสนุกสนานกับการเรียนการสอนมากยิ่งขึ้น ทำให้นักเรียนไดัพัฒนาเต็มตามศักยภาพ เรียนรู้เเละทำงานร่วมกัน มีกระบวนการคิดเเละค้นพบองค์ความรู้ด้วยตนเองในการออกเเบบสิ่งของต่างๆตามโจทย์ที่ตนเองได้รับ 

นักเรียนฝึกซ้อมอังกะลุง

เทอม2 /2565

นักเรียนฝึกซ้อมอังกะลุง

เทอม2 /2565

นักเรียนฝึกซ้อมอังกะลุง

เทอม2 /2565

พานักเรียนเข้าชมการแสดง

100 ศ.ดร.อุทิศ นาคสวัสดิ์ (ปี2566) เทอม1

พานักเรียนเข้าชมการแสดง

100 ศ.ดร.อุทิศ นาคสวัสดิ์ (ปี2566) เทอม1

พานักเรียนเข้าชมการแสดง

100 ศ.ดร.อุทิศ นาคสวัสดิ์ (ปี2566) เทอม1

ระดับชั้นม.4/4 เรียนปฏิบัติดนตรีไทย/2566

ร่วมบรรเลงดนตรีไทย 

งานไหว้ครูประจำปี 2556

ฝึกซ้อมดนตรีไทย ในวิชาชุมนุม /2566

สาธิตการเขย่าอังกะลุง นักเรียน ม.5/4 ปี2566

สาธิตการเขย่าอังกะลุง นักเรียน ม.5/4  ปี2566

กิจกรรมการเรียนการสอน เทอม2/2566

กิจกรรมการเรียนการสอน เทอม2/2566

กิจกรรมการเรียนการสอน เทอม2/2566

1.4 พัฒนาสื่อ นวัตกรรม ชุดการเรียนการสอน

มีการริเริ่ม คิดค้น เเละพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีเเละเเหล่งเรียนรู้ที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้สามารถเเก้ไขปัญหาการเรียนรู้ภาคทฤษฎีที่น่าเบื่อ ให้ผู้เรียนหันมาสนใจในการหาคำตอบมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ผู้เรียนยังได้ใช้ทักษะการคิดเเก้ปัญหา ในการออกเเบบชิ้นงานต่างๆ ตามโจทย์ที่ได้รับ เพื่อเเก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ อาทิ การจัดทำสื่อการเรียนการสอน ลง youtube  สร้างโมเดลเครื่องดนตรีไทย วงดนตรีไทย  และพานักเรียนไปศึกษาดูงาน นอกสถานที่ 

https://youtu.be/MqPHRfDx-v4

https://youtu.be/S-bvT8LHBGQ

https://youtu.be/-Jhin_Zzd7o

https://youtu.be/-pY2Lyn-l18

ห้องปฏิบัติการดนตรีไทย ห้องใหม่ 

พานักเรียนเข้าชมกิจกรรมดนตรีนอกสถานที่

วิดิโอการสอน รายวิชาศิลปะพื้นฐาน

f93d4056892dfcdee44015cea4e8e0a3.mp4

วิดิโอ การบรรเลงดนตรีไทยของนักเรียน 

รายวิชาทฤษฎีและปฏิบัติดนตรีไทย2  

ภาคเรียนที่2/2566

1.5 พัฒนารูปเเบบการวัดเเละประเมินผล

พัฒนารูปเเบบการวัดเเละประเมินผล ตามสภาพจริง โดยพิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมในชั้นเรียน การทำงานกลุ่ม การนำเสนอ การสร้างชิ้นงานจากการวิเคราะห์สมบัติของวัสดุและเครื่องมือพื้นฐาน เมื่อนักเรียนเรียนรู้จบในแต่ละหัวข้อ และแก้ไขปรับปรุงนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ยังไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนดและพิจารณาจากชิ้นงานหรือการออกแบบชิ้นงานของนักเรียน และนำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับเพื่อนในห้องเรียน และเผยแพร่ เครื่องวัดและประเมินผลให้กับเพื่อนครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ




ผลงานนักเรียน ภาคเรียนที่ 2/2565

ผลงานนักเรียน ภาคเรียนที่ 2/2565

ผลงานนักเรียน ภาคเรียนที่1/2566

ผลงานนักเรียน ภาคเรียนที่1/2566

LINE_MOVIE_1709695290397.mp4

ผลงานนักเรียน ภาคเรียนที่2/2566

LINE_MOVIE_1709695312645.mp4

ผลงานนักเรียน ภาคเรียนที่2/2566

LINE_MOVIE_1709695334460.mp4

ผลงานนักเรียน ภาคเรียนที่2/2566

1.6 ศึกษา ค้นคว้า วิเคราะห์ สังเคราะห์งานวิจัย

ศึกษาค้นคว้า วิเคราะห์ สังเคราะห์งานวิจัย และนำความรู้ที่ได้มาวางแผนในการจัดทำวิจัยในชั้นเรียน เพื่อแก้ปัญหานักเรียนมีปัญหาในด้านการเรียนรู้วิชาปฏิบัติดนตรี นักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด โดยมีการบันทึกรายละเอียดไว้ในหลังแผนการจัดการเรียนรู้ 

วิจัยในชั้นเรียน.ดนตรี.ม3 การเป่าขลุ่ยปี65.pdf

วิจัยในชั้นเรียน  ภาคเรียนที่ 1

ปีการศึกษา2565

วิจัยในชั้นเรียน.ดนตรี.ม3 การบรรเลงอังกะลุง 2565.docx.pdf

วิจัยในชั้นเรียน  ภาคเรียนที่ 2

ปีการศึกษา2565

วิจัยในชั้นเรียนการพัฒนาแบบฝึกขิม 2566.pdf

วิจัยในชั้นเรียน  

ปีการศึกษา2566

1.7 การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน

มีการพัฒนาการจัดบรรยายกาศในชั้นเรียนให้เหมาะสมกิจกรรมการเรียนรู้กับวัยของนักเรียน ให้นักเรียนรู้สึก สนุก เร้าใจ และช่วยกระตุ้นให้นักเรียนต้องการมีส่วนร่วมกับกิจกรรม ส่งเสริมนักเรียนทุกคนให้มีโอกาสนำเสนอความคิดเห็น และออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียนเป็นประจำและทุกคน สร้างแรงบันดาลใจในการเรียน เพื่อให้นักเรียนเห็นคุณค่าในการเรียนและประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้  ร่วมทั้งใช้สื่อ เทคโนโลยีเข้ามาช่วยลดระยะเวลาในการเรียนรู้ของนักเรียน สามารถทำความเข้าใจได้ง่ายขึ้นโดยเป็นแบบอย่างให้กับคุณครูในกลุ่มสาระการเรียนรู้ และเผยแพร่แนวทางในการสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ ให้กับกลุ่มครูชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ 

2e05f36e-a47c-47c4-97c2-4c54f1833616.mp4
635b997d-6e55-43f2-a4f8-ceb6b6218db8.mp4
4cb93f55-0444-4dd1-b2d1-0ca12f65cc43.mp4
490d867d-59ed-45f0-9c98-fdcde0f94605.mp4

1.8 ส่งเสริมคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน

ส่งเสริมคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน คือ ความรับผิดชอบในการส่งภาระงาน และมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้นักเรียนคิดถึงความปลอดภัยในการใช้งาน การสร้างชิ้นงาน การเลือกใช้วัสดุและเครื่องมือที่มีความเหมาะสม รวมถึงทดสอบความรู้ด้วยตนเองโดยไม่ลอกงานของผู้อื่น  และเป็นแบบอย่างให้กับคุณครูที่เข้ามานิเทศการจัดการเรียนการสอน เกี่ยวกับการจัดบรรยายกาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน 

แข่งขันวงอังกะลุง งานศิลปหัตถกรรม ครั้งที่ 70 ระดับชาติ 

ได้รับรางวัลเหรียญทอง ระดับชาติ

ปีการศึกษา2565

ได้รับรางวัลคุณภาพ แห่งสพฐ. (OBEC Special) ระดับ 3 ดาว 

โดดเด่นด้านสุนทรียศาสตร์ (ดนตรีไทย) ประจำปี 2566