ตรวจสอบคะแนนเก็บ ว23104 วิทยาการคำนวณ
โอกาสติด "ร" มี 2 กรณีคือ ไม่สอบกลางภาค (Mid) และ/หรือ ไม่สอบปลายภาค (Final)
โอกาสติด "0" มี 1 กรณีคือ คะแนนรวมทั้งหมด (sum) มีไม่ถึง 50 คะแนน
ภาระงาน ว23104 วิทยาการคำนวณ
งานที่ 1 (5 คะแนน)
ให้นักเรียนคัดลอกไฟล์ Google Docs ที่เป็นใบกิจกรรมท้ายบท ตอบคำถามให้ถูกต้อง แล้วส่งใบกิจกรรมท้ายบทใน Google Forms ที่กำหนด
ปิดรับการส่งงานแบบปกติ แก้ไขงานโดยการคัดบทเรียน (ปุ่มสีเขียว)
งานที่ 2 (10 คะแนน)
ให้นักเรียนสร้างแอปพลิเคชันเครื่องคิดเลขจาก MIT App Inventor ตามบทเรียน
ปิดรับการส่งงานแบบปกติ แก้ไขงานโดยการคัดบทเรียน (ปุ่มสีเขียว)
งานที่ 3 (15 คะแนน)
แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 หรือ 4 คน สร้างแอปพลิเคชันจาก MIT App Inventor เสร็จแล้วจำลองในสมาร์ทโฟน แล้วส่งไฟล์ .aia ให้ครู - 8 คะแนน
นำเสนอให้น่าสนใจ (ถ้าไม่สะดวกนำเสนอต่อหน้าครู นักเรียนสามารถถ่ายคลิปการนำเสนอส่งมาได้ โดยต้องเห็นหน้าผู้นำเสนอ) - 7 คะแนน
ปิดรับการส่งงานแบบปกติ แก้ไขงานโดยการคัดบทเรียน (ปุ่มสีเขียว)
สอบกลางภาค (20 คะแนน)
ให้นักเรียนเข้าสอบโดยการคลิกที่ปุ่ม [เข้าสอบกลางภาค] แก้สอบกลางภาคติดต่อครูผู้สอน
ให้นักเรียนทบทวนบทเรียนการใช้ภาษา Python จากลิงก์ [ตัวอย่างโจทย์] และ [ตัวอย่างการแก้ปัญหา] ท้ายชั่วโมงทดสอบด้วยการใช้ภาษา Python แก้ปัญหาตามโจทย์ที่ได้รับ (นักเรียนใช้ replit หรือ Thonny ในการแก้ปัญหา)
งานที่ 4 (5 คะแนน)
ให้นักเรียนสร้าง GUI เครื่องคิดเลขที่มีปุ่มตัวเลข 1-4 และมีปุ่ม Stop ตามภาพ
ปิดรับการส่งงานแบบปกติ แก้ไขงานโดยการคัดบทเรียน (ปุ่มสีเขียว)
งานที่ 5 (10 คะแนน)
ให้นักเรียนสร้างเครื่องคิดเลข โดยใช้ tkinter
ปิดรับการส่งงานแบบปกติ แก้ไขงานโดยการคัดบทเรียน (ปุ่มสีเขียว)
งานที่ 6 (5 คะแนน)
ให้นักเรียนค้นหาโค้ดภาษา Python ในอินเทอร์เน็ตที่มีการใช้ library สร้างแอปพลิเคชันแบบมี GUI สรุปความหมายของโค้ดแต่ละบรรทัด โดยใช้เครื่องมือนำเสนอที่นักเรียนถนัด อาทิ Google Slides , Canva
ปิดรับการส่งงานแบบปกติ แก้ไขงานโดยการคัดบทเรียน (ปุ่มสีเขียว)
สอบปลายภาค (30 คะแนน)
ให้นักเรียนเข้าสอบโดยการคลิกที่ปุ่มด้านล่าง
**โปรดตรวจสอบเลขที่ให้ดี เพราะมีผลต่อการกรอกคะแนน ตรวจสอบเลขที่ได้ที่เมนู "เวลาเรียน"
งานพิเศษ (+5 คะแนน)
ให้นักเรียนเล่นเกมการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย เสร็จแล้วรายงานผลด้วยเกียรติบัตร (เกียรติบัตรใช้ชื่อภาษาอังกฤษ)
งานที่ 7 (5 คะแนน)
ให้นักเรียนใช้ Google Sheets สรุปข้อมูล ค่าเฉลี่ย ค่ามากที่สุด และค่าน้อยที่สุด พร้อมนำเสนอโดยใช้แผนภูมิ เพื่อหาข้อผิดพลาดของข้อมูล
ปิดรับการส่งงานแบบปกติ แก้ไขงานโดยการคัดบทเรียน (ปุ่มสีเขียว)
งานที่ 8 (พิเศษ)
ให้นักเรียนสรุปเรื่องราวเกี่ยวกับ IoT ในชีวิตประจำวัน พร้อมทั้งยกตัวอย่าง IoT ที่นักเรียนเคยใช้งาน หรือเคยพบเห็น ออกมาในรูปแบบอินโฟกราฟิกที่สวยงาม ขนาด A4
ปิดรับการส่งงานแบบปกติ แก้ไขงานโดยการคัดบทเรียน (ปุ่มสีเขียว)