ผู้จัดทำข้อตกลง


นายพรเทพ  สว่างแก้ว

ตำแหน่ง  ครู  วิทยฐานะ  ชำนาญการ

สถานศึกษา  โรงเรียนป่าไม้อุทิศ  4

สังกัด  สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตาก เขต 2

ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง 

ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด 

ตารางสอน ภาคเรียนที่ 1  ปีการศึกษา 2565

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566

ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 30 ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี้

       - กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชา ดนตรี

ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/2 จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/3 จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4/4 จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

- กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชา ดนตรี

ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/1 จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/2 จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/3 จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5/4 จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

- กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชา ดนตรี

ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/1 จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/2 จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6/3 จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

- กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชา ดนตรี-นาฏศิลป์ 

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1   จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/2   จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3   จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/   จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

- กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชา ดนตรี-นาฏศิลป์ 

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/1   จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/2   จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/3   จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2/4    จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

- กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชา ดนตรี-นาฏศิลป์ 

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1   จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/2   จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/3   จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/4   จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

- กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ รายวิชา ดนตรี

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/1   จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/2   จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3   จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4   จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/5   จำนวน        1     ชั่วโมง/สัปดาห์

-รายวิชาชุมนุม ม.3/4                    จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

-รายวิชาจริยธรรม จำนวน 1 ชั่วโมงสัปดาห์

-รายวิชาลูกเสือเนตรนารี จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์

คำสั่งมอบหมายงาน ปีการศึกษา 2566

คำสั่งมอบหมายงาน-1-2566-สมบูรณ์ (1).pdf

งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้           

- การจัดทำแผนการเรียนรู้/การสร้างสื่อ/การสร้าง

- เครื่องมือประเมินผล/วิจัยชั้นเรียน              จำนวน 2  ชั่วโมง/สัปดาห์

- งานที่ปรึกษาและระบบช่วยเหลือดูแลนักเรียน  จำนวน 1  ชั่วโมง/สัปดาห์

- การมีส่วนร่วมในชุมชนแห่งการเรียนรู้           จำนวน 1  ชั่วโมง/สัปดาห์

งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา       

       - งานดูแลหอพัก                         จำนวน  4  ชั่วโมง/สัปดาห์

        - วงดนตรีลูกทุ่ง ดนตรีสากล และวงโยธวาทิต    จำนวน  4  ชั่วโมง/สัปดาห์


งานที่จะปฏิบัติตามาตรฐานตำแหน่ง  ครู

                 ด้านการจัดการเรียนรู้

                 ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้

                 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ

ส่วนที่ 2  ประเด็นท้าทาย

ประเด็นท้าทาย เรื่อง การแก้ปัญหาเรื่องการจับจังหวะ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 

โดยใช้กิจกรรมนันทนาการ


1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน

จากการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาศิลปะ สาระดนตรี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่ามีผู้เรียนในชั้นเรียนส่วนมากยังไม่มีความเข้าใจในเรื่องของจังหวะ อาจเป็นเพราะว่าในช่วงชั้นประถมศึกษานักเรียนไม่ค่อยได้มีโอกาสในการเรียนรู้จังหวะอย่างละเอียด เนื่องจากเวลาในคาบเรียนนั้น มีระยะเวลาค่อนข้างสั้นและเนื้อหาที่นักเรียนต้องเรียนในรายวิชาดนตรีนั้นค่อนข้างมาก จึงทำให้ไม่มีเวลามากพอที่จะทำให้นักเรียนเข้าใจถึงเรื่องของจังหวะและสามารถปรบมือให้เข้ากับจังหวะได้โดยพร้อมเพียงกัน ซึ่งจังหวะถือว่าเป็นพื้นฐานสำคัญในการเรียนรู้วิชาดนตรีทั้งในทฤษฎีและในทางปฎิบัติทั้งดนตรีไทยและสากล

 

จากปัญหาดังกล่าวข้างต้น ข้าพเจ้าจึงต้องการศึกษาค้นคว้า และหาวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ช่วยแก้ไขปัญหาการทำความเข้าใจเรื่องจังหวะของนักเรียน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และเจตคติที่ดีของผู้เรียนในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ รายวิชาศิลปะ สาระดนตรี ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ให้เกิดการพัฒนาในทิศทางที่ดีมากยิ่งขึ้น



2. วิธีดำเนินการให้บรรลุผล

2.1 วิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษา (ฉบับปรับปรุง) พุทธศักราช 2564  ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในเรื่องของมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดของเนื้อหารายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระดนตรี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

2.2 วิเคราะห์ปัญหาของผู้เรียนที่จำเป็นต้องแก้ไขและพัฒนา เพื่อออกแบบหน่วยการเรียนรู้และแผนจัดการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียน

2.3 เขียนแผนการสอนที่มีองค์ประกอบครบถ้วน ดังนี้

       - มาตรฐานการเรียนรู้

       - ตัวชี้วัด

       - สาระสำคัญ

       - จุดประสงค์การเรียนรู้

       - สาระการเรียนรู้แกนกลาง

       - กิจกรรมการเรียนรู้

       - สื่อการสอน

       - การวัดผลประเมินผล

       - บันทึก/สรุปผลหลังการสอน

2.4 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาศิลปะ สาระดนตรี ตามแผนการจัดการเรียนรู้

ด้วยกระบวนการการ Active learning ให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะ และสมรรถนะที่สำคัญ

ตามหลักสูตรโดยคำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียน

2.5 วัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ โดยมีการจัดทำแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน เพื่อประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียน

2.6 บันทึก/สรุปผลการจัดการเรียนรู้ เพื่อปรับปรุงและพัฒนาต่อไป

3. ผลลัพธ์ที่คาดหวัง

เชิงปริมาณ

ผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนป่าไม้อุทิศ4 ปีการศึกษา 2566

ร้อยละ 60 มีพัฒนาการด้านทักษะการเขียนโน้ตดนตรีสากล

อยู่ในระดับ ดี ขึ้นไป

เชิงคุณภาพ

     นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนป่าไม้อุทิศ4 ปีการศึกษา 2566 มีทักษะการเขียนโน้ตดนตรีสากลตามหลักที่ถูกต้อง สามารถนำความรู้และทักษะที่มีไปเชื่อมโยง ปรับใช้ในการเรียนวิชาศิลปะ สาระดนตรี ในระดับที่สูงขึ้นไป


คลิปวิดีโอการจัดการเรียนรู้