รายงานการไปราชการ

รายงานการเข้าร่วมโครงการห้องสมุดสีเขียวเพื่อสิ่งแวดล้อมและสังคม

กิจกรรม “การบรรยายและการเสวนาทางวิชาการเกี่ยวกับการอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อม”

17 มีนาคม พ.ศ.2564 เวลา 08.30-16.30 น.

ณ อาคารหอสมุดอิเล็กทรอนิกส์ มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม

ผู้เข้าร่วมกิจกรรม

1. พีระ สำเภาเงิน ผู้อำนวยการสำนักหอสมุด

2. รวิวรรณ นาพิมพ์ รองผู้อำนวยการฝ่ายบริการและทรัพยากรสารสนเทศ

3. ชนัญชิดา ม่วงทอง ผู้ช่วยผู้อำนวยการด้านกิจการพิเศษ

4. ปฏิญญา วรรณโสภา ผู้ช่วยผู้อำนวยการด้านวางแผนและพัฒนา

5. ขวัญตระกูล กลิ่นสุคนธ์ หัวหน้าฝ่ายบริการสารสนเทศ

6. สุนิสา พรหมมณี หัวหน้างานอำนวยการ

7. ขวัญ อ่ำดี เจ้าหน้าที่บริหารงานทั่วไป

8. นพรุจ พูลเกษร นักเอกสารสนเทศ

9. กิ่งกาญจน์ สิงห์กวาง บรรณารักษ์

10. สิริรัตน์ ไกรกลิ่น บรรณารักษ์

ภาพประกอบในงาน https://drive.google.com/drive/folders/1ObaPAXEenkIvtJrfu37uFsw0_ibcJLb_

VTR ภัยพิบัติจากธรรมชาติ

https://drive.google.com/file/d/1-w_bP5cD79kSa7znNP_pVAznwKCg9Dig/view

เวลา 08.30-09.00 น. กล่าวเปิดงาน

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชุมพล เสมาขันธ์ รักษาราชการแทนอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม กล่าวเปิดงาน โดยมี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.บัญชา ศรีสมบัติ ผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ กล่าวรายงาน

เวลา 09.00-12.00 น. “การใช้ทรัพยากรและพลังงานอย่างยั่งยืน”

คุณสรรเพ็ชร รอดพินิจ ผู้จัดการการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค อ.คลองลาน จ.กำแพงเพชร รับชม VTR สะท้อนให้เห็นถึงภัยพิบัติ อันเกิดจากภาวะโลกร้อน อ้างอิงทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์ อุณหภูมิ ปรากฎการณ์ Polar vortex และภาวะเรือนกระจก

shorturl.asia/KrhzD


ว่าด้วยเรื่องสิ่งแวดล้อมและการจัดการพลังงาน ทรัพยากรและของเสีย การจัดการเพื่อสิ่งแวดล้อม

สังคมการเมืองสิ่งแวดล้อม

· จัดงานรื่นรม หลังจากงานเลี้ยงจบแล้ว สิ่งที่มีคือขยะ พลาสติกต่าง ๆ

· ภัยธรรมชาติ การเผาป่า

ทรัพยากรธรรมชาติป่าไม้และสัตว์ป่า

ทรัพยากรประมง หว่านแห สู่ การมีเครื่องมือจับปลา

มลพิษทางอากาศ เผาป่า สู่ โรงงานไฟฟ้า

ต.ย. การเผาป่า หมอกควันที่ จ.เชียงใหม่

การบำบัดน้ำเสีย / ใช้ธรรมชาติบำบัด ผักตบชวา นำน้ำกลับมาใช้ใหม่

การวิเคราะห์การจัดซื้อจัดจ้าง /การอนุรักษ์พลังงาน 4 ป

ป1 ปรับปรุง ปรับปรุงการทำงาน โต๊ะ หน้าต่าง พื้นที่รอบข้างตัวเรา

ป2 ป้องกัน ป้องกันการเกิด 3 R

ป3 เปลี่ยนแปลง พฤติกรรมการเปิดปิด ไฟฟ้า ลดพลังงาน แสงมาก ไม่เปิดไฟ อากาศเย็นเปิดหน้าต่าง

ป4 ปลูกจิตสำนึก ปลูกจิตสำนึกให้ได้ก่อน ปฏิบัติให้ได้

พรบ.การอนุรักษ์พลังงาน ปี 2535

· ความร้อนของแสงอาทิตย์ ใช้ระแนงแทนม่าน ใช้ฟิล์มกรองแสง รักษาอุณหภูมิห้อง 25 องศา

· วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการก่อสร้าง มีฉลากเขียว

ตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการสิ่งแวดล้อม

§ ISO14001

§ Green office

§ กฎหมายสิ่งแวดล้อม

§ 5 ส.

§ การออกแบบเชิงนิเวศ (Eco Design)

การอนุรักษ์พลังงาน คือ การผลิตและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพและประหยัด การอนุรักษ์พลังงาน

นอกจากจะช่วยลดปริมาณการใช้พลังงาน ซึ่ง เป็นการประหยัด ค่าใช้จ่ายในกิจการแล้ว ยังจะช่วยลดปัญหา

สิ่งแวดล้อมที่เกิดจากแหล่งที่ใช้และผลิตพลังงานด้วย การสร้าง นโยบายด้านพลังงานของรัฐบาลเป็นอีกแนวทาง

หนึ่งในการใช้ พลังงานอย่างคุ้มค่า

การอนุรักษ์พลังงานในอาคาร การอนุรักษ์พลังงานในอาคารตาม

พรบ. ส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงานปี 2535 มาตรา 17

1. การลดความร้อนจากแสงอาทิตย์ที่เข้ามาในอาคาร

2. การปรับอากาศอย่างมีประสิทธิภาพ รวมทั้งการรักษาอุณหภูมิภายในอาคารให้อยู่ในระดับที่เหมาะสม

3. การใช้วัสดุก่อสร้างอาคารที่จะช่วยอนุรักษ์ พลังงาน ตลอดจนการแสดงคุณภาพของวัสดุ ก่อสร้างนั้น ๆ

4. การใช้แสงสว่างในอาคารอย่างมีประสิทธิภาพ

5. การใช้และการติดตั้งเครื่องจักร อุปกรณ์ และวัสดุที่ก่อให้เกิดการอนุรักษ์พลังงานในอาคาร

6. การใช้ระบบควบคุมการทำงานของเครื่องจักรและอุปกรณ์

ครม.เมื่อ วันที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2564 ยกเลิกการใช้หลอดพลาสติก

https://bit.ly/3fmD7oX

การประหยัดพลังงานไฟฟ้า

1. ปิดสวิตช์ไฟ และเครื่องใช้ไฟฟ้าทุกชนิดเมื่อเลิกใช้งาน สร้างให้เป็นนิสัยในการดับไฟทุกครั้งที่ออกจาก ห้อง

2. เลือกซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ได้มาตรฐาน ดูฉลากแสดงประสิทธิภาพให้แน่ใจทุกครั้งก่อนตัดสินใจซื้อ หาก มีอุปกรณ์ไฟฟ้าเบอร์ 5 ต้องเลือกใช้เบอร์ 5

3. ปิดเครื่องปรับอากาศทุกครั้งที่จะไม่อยู่ในห้องเกิน 1 ชั่วโมง สำหรับเครื่องปรับอากาศทั่วไป และ 30 นาที สำหรับเครื่องปรับอากาศเบอร์ 5

4. หมั่นทำความสะอาดแผ่นกรองอากาศของเครื่องปรับอากาศบ่อย ๆ เพื่อลดการเปลืองไฟในการท างาน ของเครื่องปรับอากาศ

5. ตั้งอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศที่ 25 องศาเซลเซียส ซึ่งเป็นอุณหภูมิที่ก าลังสบาย อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น 1 องศา ต้องใช้พลังงานเพิ่มขึ้นร้อยละ 5-10

6. ไม่ควรปล่อยให้มีความเย็นรั่วไหลจากห้องที่ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ ตรวจสอบและอุดรอยรั่วตามผนัง ฝ้าเพดาน ประตูช่องแสง และปิดประตูห้องทุกครั้งที่เปิดเครื่องปรับอากาศ

12. ควรปลูกต้นไม้เพื่อช่วยบังแดดข้างบ้านหรือเหนือหลังคา เพื่อเครื่องปรับอากาศจะไม่ต้องทำงานหนักเกินไป13. ปลูกพืชคลุมดิน เพื่อช่วยลดความร้อนและเพิ่มความชื้นให้กับดิน จะทำให้บ้านเย็น ไม่จำเป็นต้องเปิด เครื่องปรับอากาศเย็นจนเกินไป

14. ในสำนักงานให้ปิดไฟ ปิดเครื่องปรับอากาศ และอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ไม่จำเป็น ในช่วงเวลา 12.00-13.00 น. จะ สามารถประหยัดค่าไฟฟ้าได้

15. ไม่จำเป็นต้องเปิดเครื่องปรับอากาศก่อนเวลาเริ่มงาน และควรปิดเครื่องปรับอากาศก่อนเวลาเลิกใช้งาน เล็กน้อย เพื่อประหยัดไฟ

16. หากอากาศไม่ร้อนเกินไป ควรเปิดพัดลมแทนเครื่องปรับอากาศ จะช่วยประหยัด

17. ใช้หลอดไฟประหยัดพลังงาน ใช้หลอด LED ประหยัดแทนหลอดอ้วน หลอดตะเกียบ หลอดไส้ หรือหลอด ฟลูออเรสเซนต์หลอดไฟ LED การประหยัดพลังงานไฟฟ้า

เอกสารประกอบการบรรยาย

drive.google.com/file/d/1RcDx5g5B-RrPwT7mDZohk5ENc_XE4L5j/view?usp=sharing