แผนการวิจัยเรื่องการพัฒนารูปแบบการดูแลเด็กโรคสมาธิสั้นแบบบูรณาการ ระหว่างบุคลากรทางการแพทย์ ผู้ปกครอง ครู ในเขตภาคเหนือ

หลักสูตร การฝึกอบรมบุคลากรทางการแพทย์ในการวนิจฉัย รักษา และดูแลเด็กที่มีอาการสมาธิสั้น ผลิตโดย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข และ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

1.1 เด็กชายต้น (Attitude)

1.2 บุคคลที่มีชื่อเสียง

1.3 การเสริมสร้างทัศนคติที่ดีต่อเด็กที่มีปัญหาสมาธิสั้น

1.4 การวินิฉัยโรคสมาธิสั้น

1.5 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโรคสมาธิสั้น

1.6 การคัดกรองโรคสมาธิสั้นด้วยแบบประเมิน SNAP IV

1.7 แนวทางการช่วยเหลือเด็กสมาธิสั้นและการส่งต่อเพื่อรักษาสำหรับครู

1.8 การสื่อสารกับเด็ก ผู้ปกครอง และแพทย์ในการดูแลเด็กสมาธิสั้น

1.9 แนวทางการช่วยเหลือเด็กสมาธิสั้น สำหรับผู้ปกครอง

2.1 ยารักษาโรคสมาธิสั้น ในมุมมองของเด็ก

2.2 ยารักษาโรคสมาธิสั้น ในมุมมองของผู้ปกครอง

2.3 ยารักษาโรคสมาธิสั้น ในมุมมองของครู

2.4 ยารักษาโรคสมาธิสั้น ในมุมมองของแพทย์

2.5 ยารักษาโรคสมาธิสั้น และผลของยาต่อสมองของเด็ก

2.6 อาการข้างเคียงจากยารักษาโรคสมาธิสั้น

3.1.1 ระดับความรุนแรงของพฤติกรรมทางอารมณ์เด็กสมาธิสั้น : ระดับ1 รุนแรงน้อย (Mild)

3.1.2 ระดับความรุนแรงของพฤติกรรมทางอารมณ์เด็กสมาธิสั้น : ระดับ 2 รุนแรงปานกลาง

3.1.3 ระดับความรุนแรงของพฤติกรรมทางอารมณ์เด็กสมาธิสั้น : ระดับ 3 รุนแรงมาก (Severe)

3.2.1 เทคนิควิธีการจัดการปัญหาพฤติกรรมทางอารมณ์ : ระดับ 1 รุนแรงน้อย (Mild)

3.2.2 เทคนิควิธีการจัดการปัญหาพฤติกรรมทางอารมณ์ : ระดับ 2 รุนแรงปานกลาง (Moderate)

3.2.3 เทคนิควิธีการจัดการปัญหาพฤติกรรมทางอารมณ์ : ระดับ 3 รุนแรงมาก (Severe)

3.3 ปัญหาการสื่อสาร

4.1.1 แยกระดับความรุนแรง (รุนแรงน้อย)

4.1.2 แยกระดับความรุนแรง (ระดับปานกลาง)

4.1.3 แยกระดับความรุนแรง (รุนแรงมาก)

4.2.1 การจัดการ (รุนแรงน้อย)

4.2.2 การจัดการ (รุนแรงปานกลาง)

4.2.3 การจัดการ (รุนแรงมาก)

4.4 เทคนิคการสื่อสารที่เหมาะสม

4.5 การใช้กิจกรรมที่เป็นเรื่องราวต่อเนื่อง

กิจกรรมต่อเนื่อง (แพทย์)