บทเรียนออนไลน์
งานเขียนแบบชิ้นส่วนเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์ (30101-2004)

(Mechanical Part Drawing By CAD)

วิชางานเขียนแบบชิ้นส่วนเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา 30101-2004

เรื่อง การเขียนแบบชิ้นงาน 3 มิติ

เรื่อง การเขียนแบบชิ้นงาน 3 มิติ


หัวข้อเรื่องย่อย

1. ชุดคำสั่งในการเขียนแบบชิ้นงาน 3 มิติ ประกอบด้วย

- การยืดผิววัตถุจากเส้นร่าง (Extrude Boss/Base)        

- การตัดเจาะผิววัตถุจากเส้นร่าง (Extrude Cut)

- การสร้างผิววัตถุที่มีลักษณะเป็นวง โดยการหมุนรอบแกนที่กำหนด (Revolved Boss/Base) 

- การหมุนตัดผิววัตถุที่มีลักษณะเป็นวง โดยการหมุนรอบแกนที่กำหนด (Revolved Cut)

- การสร้างผิววัตถุไปตามแนวเส้นที่กำหนด (Swept Boss/Bass)                  

- การตัดผิววัตถุไปตามแนวเส้นที่กำหนด (Swept Cut)

- การเชื่อมหน้าตัดของวัตถุที่มีลีกษณะหน้าตัดต่างกัน (Lofted Boss/Bass)                       

- การตัดหน้าตัดของวัตถุที่มีลีกษณะหน้าตัดต่างกัน (Lofted Cut)

- การคัดลอกวัตถุต้นแบบ 3 มิติ ตามแนวเชิงเส้น (Linear Pattern)

- การคัดลอกวัตถุต้นแบบ 3 มิติ ตามแนวเส้นรอบวงกลม (Circular Pattern)

- การคัดลอกวัตถุต้นแบบ 3 มิติ ในทิศทางสะท้อนกลับ (Mirror)

- การลบมุมรัศมีโค้ง (Fillet)

- การลบมุมเหลี่ยม (Chamfer)

- การเจาะวัตถุให้กลวง (Shell)

- การสร้างตัวเสริมเชื่อมวัตถุระหว่างระนาบ ที่มีลักษณะเป็นสันครีบ (Rib)


สมรรถนะรายวิชา

1. แสดงความรูเกี่ยวกับหลักการเขียนแบบเครื่องกลด้วยคอมพิวเตอร์

2. เขียนแบบเครื่องกล โดยใชโปรแกรมคอมพิวเตอร์ตามหลักและกระบวนการ

3.  บำรุงรักษาคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ตามคูมือ

จุดประสงค์การเรียนรู้ หลังจากศึกษาหน่วยนี้แล้ว นักศึกษาสามารถ

1. บอกการใช้คำสั่งการเขียนแบบชิ้นงาน 3 มิติ ได้ 

2. สามารถใช้ชุดคำสั่งในการเขียนแบบชิ้นงาน 3 มิติ ได้ถูกต้อง 


สาระสำคัญ

     เมื่อเขียนแบบเส้นร่าง 2 มิติ จนเส้นร่างมีความถูกต้องและสมบูรณ์ของรูปทรงทางเรขาคณิต ในขั้นตอนถัดมา คือ การนำเส้นร่าง 2 มิติ มาใช้ในการเขียนแบบชิ้นงาน 3 มิติ (3D Parts) และทำาการปรับแต่งชิ้นงาน 3 มิติ ให้ถูกต้อง ด้วยชุดคำาสั่งในหมวด Feature ซึ่งประกอบด้วย การยืดผิววัตถุจากเส้นร่าง (Extrude Boss/Base), การตัดเจาะผิววัตถุจากเส้นร่าง(Extrude Cut), การสร้างผิววัตถุที่มีลักษณะเป็นวง โดยการหมุนรอบแกนที่กำหนด (Revolved Boss/Base), การหมุนตัดผิววัตถุที่มีลักษณะเป็นวง โดยการหมุนรอบแกนที่กำหนด (Revolved Cut), การสร้างผิววัตถุไปตามแนวเส้นที่กำหนด (Swept Boss/Bass), การตัดผิววัตถุไปตามแนวเส้นที่กำหนด (Swept Cut), การเชื่อมหน้าตัดของวัตถุที่มีลีกษณะหน้าตัดต่างกัน (Lofted Boss/Bass), การตัดหน้าตัดของวัตถุที่มีลีกษณะหน้าตัดต่างกัน (Lofted Cut), การคัดลอกวัตถุต้นแบบ 3 มิติ ตามแนวเชิงเส้น (Linear Pattern), การคัดลอกวัตถุต้นแบบ 3 มิติ ตามแนวเส้นรอบวงกลม (Circular Pattern), การคัดลอกวัตถุต้นแบบ 3 มิติ ในทิศทางสะท้อนกลับ (Mirror), การลบมุมรัศมีโค้ง (Fillet), การลบมุมเหลี่ยม (Chamfer), การเจาะวัตถุให้กลวง (Shell), และการสร้างตัวเสริมเชื่อมวัตถุระหว่างระนาบ ที่มีลักษณะเป็นสันครีบ (Rib)


แบบทดสอบก่อนการเรียนรู้ เรื่อง การเขียนแบบชิ้นงาน 3 มิติ

ใบความรู้ เรื่อง การเขียนแบบชิ้นงาน 3 มิติ

2. ใบความรู้รวม.pdf

กิจกรรมการจัดการเรียนการสอน ครั้งที่ 1 เรื่อง การเขียนแบบชิ้นงาน 3 มิติ

แบบฝึกหัดที่ 1  เรื่อง การเขียนแบบชิ้นงาน 3 มิติ

3.1 แบบฝึกหัดครั้งที่ 1.pdf

ใบงานที่ 1  เรื่อง การเขียนแบบชิ้นงาน 3 มิติ

4.1 ใบงานครั้งที่ 1.pdf

กิจกรรมการจัดการเรียนการสอน ครั้งที่ 2 เรื่อง การเขียนแบบชิ้นงาน 3 มิติ

แบบฝึกที่ 2 เรื่อง การเขียนแบบชิ้นงาน 3 มิติ

3.2 แบบฝึกหัดครั้งที่ 2.pdf

ใบงานที่ 2 เรื่อง การเขียนแบบชิ้นงาน 3 มิติ

4.2 ใบงานครั้งที่ 2.pdf

กิจกรรมการจัดการเรียนการสอน ครั้งที่ 3 เรื่อง การเขียนแบบชิ้นงาน 3 มิติ

แบบฝึกที่ 3 เรื่อง การเขียนแบบชิ้นงาน 3 มิติ

3.3 แบบฝึกหัดครั้งที่ 3.pdf

ใบงานที่ 3 เรื่อง การเขียนแบบชิ้นงาน 3 มิติ

4.3 ใบงานครั้งที่ 3.pdf

แบบทดสอบหลังการเรียนรู้ เรื่อง การเขียนแบบชิ้นงาน 3 มิติ

สื่อประกอบการเรียนการสอน  เรื่อง การเขียนแบบชิ้นงาน 3 มิติ 

สื่อการสอนหน่วยที่ 7 สอนครั้งที่ 1

5.1 สื่อการสอนครั้งที่ 1.pdf

สื่อการสอนหน่วยที่ 7 สอนครั้งที่ 2

5.2 สื่อการสอนครั้งที่ 2.pdf

สื่อการสอนหน่วยที่ 7 สอนครั้งที่ 3

5.3 สื่อการสอนครั้งที่ 3.pdf

หนังสืออ้างอิงประกอบการสอน

แหล่งค้นคว้าศึกษาเพิ่มเติม