การประเมินเพื่อขอมีวิทยฐานะและขอเลื่อนวิทยฐานะ (ว.PA)

นายชาตรี ตราชู

ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทาย

ในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน

การพัฒนางานที่เสนอเป็นประเด็นท้าทายปีงบประมาณ 2565

ประเด็นท้าทาย :

การพัฒนาทักษะทางการเขียนเรียงความของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้แบบฝึกทักษะ

(โดยใช้กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3)

1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน

จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่ผ่านมา พบว่า มีนักเรียนบางส่วนที่ขาดความรู้และมีปัญหาด้านทักษะการเขียน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านทักษะการเขียนเรียงความ ซึ่งมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องใช้สื่อสารให้ถูกต้องตามหลักภาษาและกฎเกณฑ์การเขียนเรียงความอย่างมีประสิทธิภาพ

2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล

1.วิเคราะห์หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

2.ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ สื่อการสอน/นวัตกรรม

3.จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้

4.วัดและประเมินผลสัมฤทธิ์หลังใช้แบบฝึกทักษะ

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนภาษาไทย-2565.pdf

แผนการจัดการเรียนรู้

บันทึกข้อความ-แผน-1-65.pdf
แผนเรียงความ.pdf

จัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการจัดการเรียนรู้

การเขียนเรียงความ 5555.pdf

สื่อการเรียน การสอน (Power point)

วัดและประเมินผล

ใบความรู้เรียงความ.pdf

ใบความรู้

แบบทดสอบเรียงความ.pdf

แบบทดสอบ

ใบกิจกรรม เรื่อง การเขียนเรียงความ.pdf

ใบงาน

เรียงความ .pdf

ใบงาน

ภาระงานเรียงความ

ภาระงานเรียงความ

ภาระงานเรียงความ

3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง

เชิงปริมาณ

นักเรียนร้อยละ 70 มีพัฒนาการทางทักษะทางการเขียนเรียงความสูงขึ้นหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ

เชิงคุณภาพ

นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 มีความรู้ตามตัวชี้วัดในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตรงตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551

ตาราง ก่อนและหลังการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ.pdf

จากตารางการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการเขียนเรียงความ ก่อนและหลังการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ พบว่า หลังจากการใช้แบบฝึกทักษะนักเรียนทุกคนมีคะแนนเพิ่มขึ้น โดยมีคะแนนเฉลี่ยก่อนและหลังทำแบบทดสอบเป็น 5.07และ7.19 ตามลำดับ และมีจำนวนนักเรียนที่ผ่านแบบทดสอบหลังเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะ คิดเป็น 87.80%

ความพึงพอใจและข้อเสนอแนะของผู้เรียนที่มีต่อการเรียนการสอนวิชาภาษาไทย

ฟอร์มไม่มีชื่อ (การตอบกลับ)