Kasetsart University Research Ethics Committee (KUREC) 

review research proposals involving human to ensure that
they are ethically acceptable.

1. ระเบียบและประกาศมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (Regulations)


      1.1 ศึกษาระเบียบและประกาศมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ เพื่อทราบถึงระเบียบ แนวทางปฏิบัติ ประเภทการรับรอง

2. แบบตรวจสอบโครงการวิจัยที่เข้าข่ายการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ มก.


        2.1 ก่อนดำเนินการทำแบบตรวจสอบโครงการวิจัยฯ ขอให้ศึกษาประกาศมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เรื่อง แนวปฏิบัติเพื่อขอรับการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์


3. ศึกษารายละเอียดก่อนขอรับการพิจารณาจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์

     3.1 ประเภทการรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ เพื่อผู้วิจัยได้ประเมินงานวิจัยของตนก่อนขอรับการพิจารณารับรอง

    3.2 ขั้นตอนการขอรับรอง

    3.3 คู่มือการให้บริการ เพื่อเป็นแนวทางในการกรอกข้อมูลในแบบฟอร์ม

4. ดาวน์โหลดเอกสารและการนำส่งเอกสาร (Applying for ethics review)

     4.1 ศึกษารายการเอกสารการขอรับรอง ก่อนดาวน์โหลดเอกสาร

     4.2 ดาวน์โหลดเอกสาร

     4.3 การส่งอีเมล (ผู้วิจัยต้องนำส่งไฟล์ .PDF ไปยังอีเมลสำนักงานจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ประจำวิทยาเขต) (ตั้งชื่อไฟล์ PDF ให้ตรงกับเอกสาร เช่น หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงาน, Proposal, CV ผู้วิจัยหลัก เป็นต้น สำหรับแบบฟอร์มที่ดาวน์โหลดจากเว็บไซต์ให้ใช้ชื่อเดิม และบางโครงการวิจัย อาจจะต้องส่งเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องนอกเหนือจากรายการเอกสารประกอบข้างต้น เช่น หนังสือขออนุญาติเก็บข้อมูล หนังสือขอความร่วมมือจากหน่วยงาน  ฯลฯ )

     4.4 การนำส่งเอกสารฉบับจริง (ผู้วิจัยสามารถนำส่งเอกสารฉบับจริงได้ เมื่อได้รับอีเมลยืนยันจากเจ้าหน้าที่ประจำสำนักงาน)

5. ตรวจสอบสถานะโครงการและสารพันปัญหา

วิดีโอแนะนำ

การใช้งาน 

(อยู่ระหว่างจัดทำ)

8.แหล่งเรียนรู้ออนไลน์

     บุคลากรและนิสิตสามารถเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายในการลงทะเบียน เพื่อให้ทราบหลักจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ และกฎเกณฑ์ก่อนเริ่มดำเนินการวิจัย ทั้งนี้เมื่อได้ศึกษาและผ่านบททดสอบแล้ว สามารถพิมพ์ certificate ประกอบการขอรับการพิจารณารับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ต่อไป

        โปรดให้ความอนุเคราะห์ทำแบบประเมินเพื่อสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อการให้บริการ "การขอรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์" ของฝ่ายมาตรฐานการวิจัยฯ เพื่อนำผลการประเมินไปพัฒนาปรับปรุงแก้ไขให้มีคุณภาพอย่างต่อเนื่อง