การนำเสนผลงานนักเรียนที่ได้รับทุนอุดหนุน
ในโครงการบ่มเพาะเพื่อการพัฒนานวัตกรรมวิทยาศาสตร์ทางการเกษตร
ผ่านโปรแกรม Cisco Webex Meeting
ในวันที่ 11 มกราคม 2566 เวลา 13.00-16.00 น.

13:00 - 13:15 น.

พิธีเปิด

- ผศ.ดร.เชิดพงษ์ ขีระจิตต์ หัวหน้าโครงการ กล่าวรายงาน

- คณบดีคณะเกษตร กำแพงแสน กล่าวเปิดโครงการ


13:15 - 15:45 น.

นำเสนอโครงงาน ๆ ละ 10 นาที และตอบข้อซักถาม 5 นาที ตามลำดับ

1. โรงเรียนอนุกูลนารี : โครงงานระบบคลื่นความถี่เสียงไล่แมลงในนาข้าว

2. โรงเรียนสหราษฎร์รังสฤษดิ์ : โครงงานเพิ่มประสิทธิภาพผงทาหน้ายางยับยั้งเชื้อรา Phytophthora pamivora จากสารสกัดแทนนินในเปลือกกล้วยน้ำว้าดิบ ด้วยสังกะสีออกไซด์ (ZnO) เร่งการสร้างเปลือกหน้ายางด้วยไซโตไคนิน จากน้ำมะพร้าว

3. โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย (จิรประวัติ) นครสวรรค์ : โครงงานตู้อบลมร้อนพร้อมระบบควบคุมการทำงานเเละเเจ้งเตือนผ่านระบบออนไลน์

4. โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณ์ราชวิทยาลัย พิษณุโลก : โครงงานสูตรฟิล์มไคโตซานโดยสารสกัดหยาบจากกานพลูเพื่อต้านเชื้อรา Fusarium oxysporum ที่ก่อโรคขั้วหวีเน่าของกล้วย

5. โรงเรียนพนมสารคาม “พนมอดุลวิทยา” : โครงงานหม้อข้าวหม้อแกงลิงเทียมดักจับแมลงและให้ปุ๋ยน้ำแก่พืชด้วยระบบอัตโนมัติ

6. โรงเรียนบรบือวิทยาคาร : โครงงานแผ่นกันกระแทกจากไส้มันสำปะหลังที่ชะลอการสุกของมะม่วงด้วยถ่านกัมมันต์

7. โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) : โครงงานเครื่องกรีดยางอัตโนมัติ

8. โรงเรียนสารคามพิทยาคม : โครงงานระบบควบคุมศัตรูข้าวระยะต้นแตกกอโดยใช้คลื่นอัลตราโซนิค

9. โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย สตูล : โครงงานการทดสอบประสิทธิภาพในการชะลอการสุกของกล้วยหอมทองโดยสารสกัดหยาบจากใบยี่หร่าและสารสกัดไคโตซานจากเปลือกหอยแมลงภู่


10. โรงเรียนวิทยาศาสตร์จุฬาภรณราชวิทยาลัย ปทุมธานี : โครงงานการศึกษาและพัฒนาแผ่นคลุมโรงเรือนปลูกพืชประสิทธิภาพสูงจากอนุภาคนาโน N-GQDs สำหรับประยุกต์ใช้ในการให้แสงในความยาวคลื่นที่จำเพาะแก่ไมโครกรีนในระบบปลูกแบบปิด


15:45 - 16:00 น.

พิธีปิด