ยินดีต้อนรับเข้าสู่เว็บไซต์แฟ้มผลงานอิเล็กทรอนิกส์  (E-Portfolio)  

ของนางพรรณนิดา  กิจจานนท์

1. ข้อมูลทั่วไป

1.1 ข้อมูลพื้นฐาน



1.2 ข้อมูลเกี่ยวกับเวลาการปฏิบัติหน้าที่ราชการ 

(1 ตุลาคม 2566-31 มีนาคม 2567) จำนวนวันลาในรอบการประเมิน 6 วัน ประกอบด้วย


1.3 ประวัติการเลื่อนเงินเดือน (5 ปี ย้อนหลัง)

1.4 ข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่ (1 ตุลาคม 2566 – 30 กันยายน 2567)

2. รายละเอียดประกอบการประเมินองค์ประกอบที่ 1 

การประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการ ปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง

ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง


ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ.กำหนด


ภาระงานภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566

ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 26 ชั่วโมง 55 นาที/สัปดาห์ ดังนี้

       รายวิชา วิทยาศาสตร์ 4    จำนวน 16 ชั่วโมง 30 นาที/สัปดาห์

        รายวิชา ฟิสิกส์ 6              จำนวน 5 ชั่วโมง 30 นาที /สัปดาห์


งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้

       จำนวน 55 นาที/สัปดาห์


งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

       จำนวน 2 ชั่วโมง 45 นาที/สัปดาห์


งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น

       จำนวน 4 ชั่วโมง  /สัปดาห์



งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู 

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน


ประเด็นที่ท้าทาย 

ประเด็นท้าทาย เรื่อง 

การพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 (21st Century Skills) โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning รายวิชา วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 

1. สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้

      ในการจัดการเรียนรู้รายวิชา วิทยาศาสตร์ ที่ผ่านมา พบว่า นักเรียนยังขาดทักษะในศตวรรษที่ 21 ซึ่งจะส่งผลต่อการประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิต และการประกอบอาชีพในอนาคต ดังนั้นครูผู้สอนจึงจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานประเด็นท้าท้าย โดยการศึกษา ค้นคว้า และหาวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ช่วยแก้ปัญหาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ผ่านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active Learning ร่วมกับการใช้กิจกรรมการเรียนรู้ และแบบประเมินทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ในรายวิชา วิทยาศาสตร์ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2  

2. รายงานความสำเร็จจากวิธีการดำเนินให้บรรลุผล 

  1. วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนแก่งหางแมวพิทยาคาร พุทธศักราช 2561 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด รายวิชา วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

                        2. ออกแบบแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา วิทยาศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning

                       3. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง พร้อมทั้งเสนอแนะ เพื่อปรับปรุง แก้ไขและพัฒนา

                         4. ครูผู้สอนปรับปรุง แก้ไขและพัฒนา แผนการจัดการเรียนรู้ ตามข้อเสนอแนะ

                         5. จัดการเรียนรู้ รายวิชา วิทยาศาสตร์ กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2

                         6. บันทึกผลการเรียนรู้ของนักเรียนที่เกิดขึ้นจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ลงใน Google sheet ครูจะสะท้อนผลการเรียนรู้ให้นักเรียนได้ติดตามเป็นระยะ ซึ่งนักเรียนสามารถตรวจสอบผลการเรียนรู้ ติดตามภาระงานผ่านทาง Google sheet หากมีนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์การประเมิน จะใช้กิจกรรมการสอนซ่อมเสริม เพื่อให้นักเรียนมีผลการเรียนรู้ผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่กำหนด


3. รายงานผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง

         3.1 เชิงปริมาณ

                              นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ได้รับการพัฒนาพัฒนาทักษะในศตวรรษที่ 21 และมีผลการประเมินทักษะในศตวรรษที่ 21 ผ่านเกณฑ์การประเมิน                      

 3.2 เชิงคุณภาพ

                              นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 มีความยืดหยุ่นและการปรับตัว การริเริ่มสร้างสรรค์และ เป็นตัวของตัวเอง มีทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม และสามารถนำทักษะที่ได้มาใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ที่ เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้           

3. รายละเอียดประกอบการประเมินองค์ประกอบที่ 2

การประเมินการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษา

3.1 งานที่ได้รับมอบหมายจากทางโรงเรียน

คำสั่ง-กลุ่มบริหารงานวิชาการ-แก้ไข-วันที่-1.pdf

งานที่ได้รับมอบหมาย


3.2 งานที่ได้รับมอบหมายจากหน่วยงานภายนอก

คำสั่ง-วันครูแก่ง-แก้ไขล่าสุด.pdf

งานที่ได้รับมอบหมาย


4. รายละเอียดประกอบการประเมินองค์ประกอบที่ 3

การประเมินการปฏิบัติตนในการรักษาวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ