1. ข้อมูลทั่วไป

1.1 ข้อมูลพื้นฐาน



1.2 ข้อมูลเกี่ยวกับเวลาการปฏิบัติหน้าที่ราชการ (1 ตุลาคม 2566 – 30 มีนาคม 2566)

ข้อมูลเกี่ยวกับเวลาการปฏิบัติหน้าที่ราชการ (1 ตุลาคม 2566 – 30 มีนาคม 2567)

จำนวนวันลาในรอบการประเมิน 2 ครั้ง ประกอบด้วย

(1)   ลาป่วย 1 ครั้ง 2 วัน

(2)   ลากิจ 1 ครั้ง 1 วัน


1.3 ประวัติการเลื่อนเงินเดือน (5 ปี ย้อนหลัง)

2. รายละเอียดประกอบการประเมินองค์ประกอบที่ 1 

การประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการ ปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง

ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง


าระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ.กำหนด


ภาระงานภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566


ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 16.30ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี้

       รายวิชา ศิลปะ6 ศ23102    จำนวน 09.10 ชั่วโมง/สัปดาห์

       รายวิชา ศิลปะ6 ศ33102    จำนวน 03.40 ชั่วโมง/สัปดาห์

       รายวิชา นาฏศิลป์พื้นเมือง   จำนวน 01.50 ชั่วโมง/สัปดาห์

  รายวิชา ศิราภรณ์ไทย      จำนวน 01.50 ชั่วโมง/สัปดาห์

งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้

       จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์


งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

       จำนวน 01.50 ชั่วโมง/สัปดาห์


งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น

       จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์


รวมทั้งหมด 22 ชั่วโมง 20 นาที

ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน


ประเด็นที่ท้าทาย 

ประเด็นท้าทาย เรื่อง การแก้ปัญหาผู้เรียนใช้นาฏยศัพท์และภาษาท่าสื่อความหมายไม่ตรงกับความหมายของบทเพลง โดยใช้สื่อหนังสืออิเล็คทรอนิกส์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566


1. สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้

     ในการเรียนวิชาศิลปะ 6 มีหน่วยการเรียนรู้เรื่องนาฏยศัพท์สร้างสรรค์ มีเนื้อหาในการเรียนรู้เรื่องการประดิษฐ์ท่ารำประกอบบทเพลง โดยใช้นาฏยศัพท์และภาษาท่าพื้นฐานมาเป็นท่ารำประกอบบทเพลง เพื่อสื่อความหมายให้สอดคล้องกับความหมายของบทเพลง  ซึ่งเป็นการประยุกต์ใช้ท่ารำให้เข้ากับบทเพลง ซึ่งจำเป็นต้องใช้นาฏยศัพท์และภาษาท่ามาใช้ในการสร้างสรรค์การแสดง แต่ที่ผ่านมาผู้เรียนยังใช้นาฏยศัพท์และภาษาท่าไม่สอดคล้องกับบทเพลง และมักใช้สื่อสารท่ารำผิดพลาด เนื่องจากใช้นาฏยศัพท์และภาษาท่าที่ไม่ตรงกับความหมายของบทเพลงการปฏิบัติที่ไม่ถูกต้องจะทำให้ความหมายผิดเพี้ยนได้ ครูผู้สอนจึงจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางานประเด็นท้าท้าย โดยการศึกษา ค้นคว้าและหาวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ช่วยแก้ปัญหาผู้เรียนใช้นาฏยศัพท์ และภาษาท่าสื่อความหมายไม่ตรงกับความหมายของบทเพลง ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 รายวิชาศิลปะ 6 รหัสวิชา ศ23102 ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2565


2. รายงานความสำเร็จจากวิธีการดำเนินงานให้บรรลุผล 

   นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 5 ห้อง รวมจำนวนนักเรียนทั้งหมด 181 คน

ได้รับการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง นาฏยศัพท์สร้างสรรค์ รายวิชาศิลปะ 6 รหัสวิชา ศ23102 ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2565  โดยมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คิดเป็นร้อยละ 70 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมด  และนักเรียนทั้งหมดมีความพึงพอใจต่อกิจกรรมจัดการเรียนรู้ เรื่อง นาฏยศัพท์สร้างสรรค์ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ มากขึ้นไป


3. รายงานผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง

    นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  มีความรู้ความเข้าใจ เรื่องการใช้นาฏยศัพท์และภาษาท่าเพื่อสื่อความหมายในการแสดงนาฏศิลป์ไทย และสามารถประยุกต์ใช้ท่ารำประกอบการแสดงในบทเพลงต่างๆได้


3. รายละเอียดประกอบการประเมินองค์ประกอบที่ 2

การประเมินการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษา

3.1 งานที่ได้รับมอบหมายจากทางโรงเรียน


3.2 งานที่ได้รับมอบหมายจากหน่วยงานภายนอก

     เป็นคณะกรรมการด้านการจัดการแสดงพิธีเปิดงานกีฬากลุ่มอำเภอแก่งหางแมว

4. รายละเอียดประกอบการประเมินองค์ประกอบที่ 3

การประเมินการปฏิบัติตนในการรักษาวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ

     ฏิบัติตนตามกฏระเบียบ วินัย และยึดมั่นจรรยาบรรณวิชาชีพ ปฏิบัติงานตามหน้าที่รับผิดชอบเสียสละให้กับส่วนรวมเห็นประโยชน์ทางราชการมากกว่าประโยชน์ส่วนตน

ข้อมูลเกี่ยวกับเวลาการปฏิบัติหน้าที่ราชการ (1 ตุลาคม 2566 – 30 กันยายน 2566)

จำนวนวันลาในรอบการประเมิน 2 วัน ประกอบด้วย

(1)   ลาป่วย 1 ครั้ง 7 วัน

(2)   ลากิจ 2 ครั้ง 2 วัน