1. ข้อมูลทั่วไป


1.1 ข้อมูลส่วนตัว

1.2 ข้อมูลเกี่ยวกับเวลาการปฏิบัติหน้าที่ราชการ 

( 1 ตุลาคม 2566-31 มีนาคม 2567 ) 

จำนวนวันลาในรอบการประเมิน 90 วัน ประกอบด้วย

1.2 ประวัติการเลื่อนเงินเดือน ( 5 ปีย้อนหลัง


1.4 ข้อมูลการปฏิบัติหน้าที่ (1 ตุลาคม 2566 – 31 มีนาคม 2567)


ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566

2. รายละเอียดประกอบการประเมินองค์ประกอบที่ 1 

      การประเมินประสิทธิภาพและประสิทธิผลการ ปฏิบัติงานตามมาตรฐานตำแหน่ง

ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางาน

ตามมาตรฐานตำแหน่ง


ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ.กำหนด


ภาระงานภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2566

ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน  18 ชั่วโมง 20 นาที/สัปดาห์ ดังนี้

       รายวิชา ภาษาไทย 5    จำนวน 13 ชั่วโมง  45 นาที/สัปดาห์ 

       รายวิชา IS  จำนวน 1 ชั่วโมง 50 นาที/สัปดาห์

รายวิชา แนะแนว  จำนวน 55 นาที/สัปดาห์

รายวิชา ลูกเสือ  จำนวน 55 นาที/สัปดาห์

รายวิชา ชุมนุม  จำนวน 55 นาที/สัปดาห์


งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้

       จำนวน  55 นาที/สัปดาห์


งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

       จำนวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์


งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น

       จำนวน 1 ชั่วโมง 50 นาที/สัปดาห์

งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู 



     ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน

ประเด็นท้าทาย เรื่อง                 

      การพัฒนาทักษะการเขียน โดยใช้การจัดการเรียนการสอนแบบเชิงรุก ตามกระบวนการ Active Learning โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Bases Learning) ในรายวิชาภาษาไทย 6 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3




1. สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้

    จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาภาษาไทย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 พบว่านักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในเนื้อหาสาระ การเขียน ที่ค่อนข้างต่ำ นักเรียนยังไม่สามารถปฏิบัติกิจกรรมและเขียนตามวัตถุประสงค์ได้ตามเกณฑ์ที่กำหนด และจากผลการคัดกรองความรู้ความสามารถการอ่าน การเขียน พบว่า นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ มีผลการทดสอบด้านทักษะการเขียนอยู่ในระดับพอใช้ 21.4  และระดับปรับปรุง 13.8  รวมร้อยละ 35.2  

                   ดังนั้น ผู้สอนจึงสนใจพัฒนาทักษะการเขียน โดยใช้การจัดการเรียนการสอนแบบเชิงรุก ตามกระบวนการ Active Learning โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Bases Learning) ในรายวิชาภาษาไทย 6 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3  เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาทักษะด้านการเขียน ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์ด้านการเขียนของผู้เรียนที่ดีขึ้น


2. รายงานความสำเร็จจากวิธีการดำเนินให้บรรลุผล 

     2.1 วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2561) และหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนแก่งหางแมวพิทยาคาร ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2561 ในเรื่องของมาตรฐานการเรียน และตัวชี้วัด

      2.2 ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ และแผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้เทคนิคบันได 6 ขั้น ในการอ่านจับใจความสำคัญ

       2.3 สร้างแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน

     2.4 นำเทคนิคการจัดการเรียนการสอนแบบเชิงรุก ตามกระบวนการ Active Learning โดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Bases Learning) เข้าสู่แผนการจัดการเรียนรู้

        2.5 จัดกิจกรรมการเรียนรู้การจัดการเรียนการสอนแบบเชิงรุก ตามกระบวนการ Active Learningโดยใช้กิจกรรมเป็นฐาน (Activity-Bases Learning)โดยดำเนินกิจกรรมตามที่กำหนดไว้ในแผนการจัดการเรียนรู้

    2.6 บันทึกผลการเรียนรู้ของสรุปสารสนเทศของผู้เรียน แล้วแจ้งให้ผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ทราบ และได้รับการพัฒนาจนกว่าผู้เรียนจะผ่านเกณฑ์ที่กำหนด

       2.7 ประเมินความพึงพอใจของนักเรียนและผู้ปกครองในการจัดการเรียนการสอนเพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้นกว่าเดิม


3. รายงานผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง

      3.1 เชิงปริมาณผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 5 ห้อง รวมจำนวนผู้เรียนทั้งหมด 182 คน ได้รับการพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ โยใช้เทคนิคบันได 6 ขั้น มีกระบวนการดังนี้

       1) แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน  ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70

       ของผู้เรียนทั้งหมด

       2) แบบฝึกหัด เรื่อง การเขียน ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 70 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของผู้เรียนทั้งหมด

       3) แบบฝึกทักษะการเขียน ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 70 ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของผู้เรียนทั้งหมด

       4) ผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ได้รับการซ่อมเสริมและปรับปรุงผลการเรียนให้ดีขึ้นไม่ต่ำกว่า

       ร้อยละ 70 ของผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์

        3.2 เชิงคุณภาพ

        ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 จำนวน 5 ห้อง รวมจำนวนผู้เรียนทั้งหมด 171 คน มีทักษะการเขียนตามวัตถุประสงค์ที่ดีขึ้น สามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้ตามโอกาสและสถานการณ์ และผู้เรียนยังมีการเชื่อมโยงความรู้และประสบการณ์จากการพัฒนาตนเอง


ส่วนที่ 3 รายละเอียดประกอบการประเมิน

องค์ประกอบที่ 2

      การประเมินการมีส่วนร่วมในการพัฒนาการศึกษา

3.1 งานที่ได้รับมอบหมายจากทางโรงเรียน

·         หัวหน้างานคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน

·         ครูที่ปรึกษานักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/3

·         ครูผู้สอนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

·         ผู้กำกับลูกเสือ-เนตรนารี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

·         หัวหน้าเวรวันศุกร์

·         เจ้าหน้าที่งานร้านค้าสวัสดิการโรงเรียน

·         ผู้รับผิดชอบโครงการส่งเสริมประสิทธิภาพการปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานฯและเครือข่ายผู้ปกครอง

·         ปฏิบัติหน้าที่อื่นๆตามที่ได้รับมอบหมาย


3.2 งานที่ได้รับมอบหมายจากหน่วยงานภายนอก


ส่วนที่ 4 รายละเอียดประกอบการประเมิน

องค์ประกอบที่ 3

     การประเมินการปฏิบัติตนในการรักษาวินัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ