พาณิชยกิจที่ต้องจดทะเบียนพาณิชย์

ณ สำนักงานทะเบียนพาณิชย์เทศบาลนคร

ข้อที่ 1 กรณีผู้ประกอบพาณิชยกิจเป็นบุคคลธรรมดา หรือห้างหุ้นส่วนสามัญ

 

ข้อที่ 2 กรณีผู้ประกอบพาณิชยกิจเป็นบุคคลธรรมดา หรือห้างหุ้นส่วนสามัญ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด บริษัทมหาชนจำกัด

           

พาณิชยกิจบางอย่างที่ได้รับการยกเว้น

ไม่ต้องจดทะเบียนพาณิชย์

 

เอกสารประกอบคำขอจดทะเบียนพาณิชย์

(ตั้งใหม่ และเปลี่ยนแปลงที่ตั้งสำนักงานแห่งใหญ่)

1.กรณีสถานที่ประกอบพาณิชยกิจเป็นกรรมสิทธิ์

ของผู้ประกอบการ

1.1 สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนผู้ประกอบการ

1.2 สำเนาทะเบียนบ้านผู้ประกอบการ

1.3 การมอบอำนาจ ให้แนบเอกสารเพิ่มเติมดังนี้

 

ก.หนังสือมอบอำนาจ พร้อมติดอากรแสตมป์ 10 บาท

ข.สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และสำเนาทะเบียน

บ้านของผู้รับมอบ

2.กรณีสถานที่ประกอบพาณิชยกิจเป็นสถานที่ของบุคคลอื่น

2.1 สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนผู้ประกอบการ

2.2 สำเนาทะเบียนบ้านผู้ประกอบการ

2.3 สำเนาเอกสารสัญญาเช่า (กรณีเช่า)

2.4 หรือหนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่ประกอบการค้า พร้อม

แนบเอกสาร สำเนาทะเบียนของสถานที่ที่ตั้งร้าน สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้านของเจ้าของกรรมสิทธิ์

2.5 การมอบอำนาจเช่นเดียวกับข้อ 1.3

3.1 สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนของหุ้นส่วนทุกคน

3.2 สำเนาทะเบียนบ้านของหุ้นส่วนทุกคน

3.3หนังสือแต่งตั้งผู้จัดการพร้อมติดอากรแสตมป์ 30 บาท

ให้แนบเอกสารการอนุญาตให้ขายสินค้าลิขสิทธิ์นั้น ๆเพิ่มเติม

ข้อสังเกต

ในกรณีการเปลี่ยนตัวผู้ประกอบพาณิชยกิจ ไม่ว่าจะเป็นการโอนกิจการให้แก่กัน หรือการให้มรดก ไม่สามารถดำเนินการโดยการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลงรายการได้ เนื่องจากเป็นกิจการเฉพาะตัวบุคคลซึ่งบุคคลผู้รับโอนก็ไม่อาจนับช่วงเวลาที่ผู้โอนได้ดำเนินการมาก่อนได้ ในกรณีเช่นนี้จึงต้องดำเนินการ ดังนี้

   ทั้งสองกรณีให้ดำเนินการในวันเดียวกัน

อัตราค่าธรรมเนียม

หนังสือ/สัญญา ที่ต้องปิดอากรแสตมป์

 

ผู้ประกอบพาณิชกิจที่ไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ ทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ.2499

บทลงโทษ

มาตรา 19ผู้ประกอบพาณิชยกิจผู้ใด
    1.ไม่จดทะเบียนตามพระราชบัญญัตินี้
    2. แสดงรายการเท็จ หรือ
    3.ไม่มาให้นายทะเบียนพาณิชย์สอบสวน ไม่ยอมให้ถ้อยคำหรือไม่ยอมให้นายทะเบียนพาณิชย์หรือพนักงานเจ้าหน้าที่เข้าไปตรวจสอบตามมาตรา 17
    มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 2,000.-บาท และในกรณีตามข้อ 1.อันเป็นความผิดต่อเนื่องกัน ให้ปรับอีกวันละไม่เกิน 100.-บาทจนกว่าจะได้ปฏิบัติให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้

 

มาตรา20 ผู้ประกอบพาณิชยกิจผู้ใดละเลยไม่ปฏิบัติตาม          

มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 200.-บาทและในกรณีอันเป็นความผิดต่อเนื่องกันให้ปรับอีกวันละไม่เกิน 20.-บาท จนกว่าจะได้ปฏิบัติให้เป็นไปตามพระราชบัญญัตินี้

มาตรา21ผู้ประกอบพาณิชยกิจผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา 16 วรรคสาม ห้ามมิให้ผู้สั่งถอนใบทะเบียนพาณิชย์ประกอบพาณิชยกิจต่อไป เว้นแต่รัฐมนตรีจะสั่งให้รับจดทะเบียนพาณิชย์ใหม่มีความผิดต้องระวางโทษปรับไม่เกิน 10,000.-บาท หรือจำคุกไม่เกินหนึ่งปีหรือทั้งปรับทั้งจำ