ชื่อ – สกุล
(ภาษาไทย) : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อารมย์ จันทะสอน
(ภาษาอังกฤษ) : Assistant Professor Dr. Arom Jantasorn
อีเมลล์ : aromj@g.swu.ac.th
โทร : 21028
สาขาที่เชี่ยวชาญ : การควบคุมโรคพืชโดยชีววิธี, สารสกัดพืชในการควบคุมโรคพืช,
เซรุ่มวิทยาทางโรคพืช, อณูชีววิทยาทางโรคพืช
รายวิชาที่สอน :
บทความวิจัย/งานสร้างสรรค์
ระดับชาติ
อารมย์ จันทะสอน, เจนจิรา หม่องอ้น, บุญธิดา ม่วงศรีเมืองดี, ธนประสงค์ อยู่พิศิษฐ์ไตรวัติ. (2559). ผลของสารสกัดหยาบจากรา Talaromyces flavus Bodhi001 และ Talaromyces trachyspermus Bodhi002 แยกจากดินป่าชื้นต่อการยับยั้งเชื้อราสาเหตุโรคพืชทางเศรษฐกิจ. วารสารวิทยาศาสตร์เกษตร. 47(2):121-131
อารมย์ จันทะสอน, ศศิธร โคสุวรรณ, มนัส สมฤทธิ์, สิทธิศักดิ์ แสไพศาล, ธนประสงค์ อยู่พิศิษฐ์ไตรวัติ (2560). การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการศึกษาการระบาดของโรคไวรัสใบด่างจุดวงแหวนมะละกอในพื้นที่ปลูกมะละกอเพื่อการค้า จังหวัดสระแก้ว
อารมย์ จันทะสอน, ธัชธรรม์ กลีบสุวรรณ์, สิทธิศักดิ์ แสไพศาล, ธนประสงค์ อยู่พิศิษฐ์ไตรวัติ (2561). การตรวจสอบเชื้อไวรัส Maize Chlorotic Mottle Virus, Maize Dwarf Mosaic Virus และ Sugarcane Mosaic Virus สาเหตุโรคแห้งตายในข้าวโพดหวาน. วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. 26(4): 619-630.
เจนจิรา หม่องอ้น, ชัชวิจก์ ถนอมกลิ่น, ปราณี ศิริพันธ์, อารมย์ จันทะสอน, (2563). ผลของการจัดการปุ๋ยและการฉีดพ่นธาตุสังกะสีต่อการเจริญเติบโตและผลผลิตอ้อย, วารสารผลิตกรรมการเกษตร. 2(1):45-53.
กิราภัส แสงทอง, ธนประสงค์ อยู่พิศิษฐ์ไตรวัติ, อารมย์ จันทะสอน. (2563). ผลของจุลินทรีย์ดินต่อการงอกและการเจริญเติบโตของต้นกล้าข้าวพันธุ์ขาวดอกมะลิ 105, วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.28(9): 1608-1616. DOI: 10.14456/tstj.2020.128
อารมย์ จันทะสอน, ศศิธร โคสุวรรณ, สิทธิศักดิ์ แสไพศาล, ธนประสงค์ อยู่พิศิษฐ์ไตรวัติ, (2564). การสำรวจโรคใบขาวของอ้อยในอำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว, วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ระดับนานาชาติ
Jantasorn, A., Moungsrimuangdee, B., Dethoup, T. (2016). In vitro antifungal activity evaluation of five plant extracts against five plant pathogenic fungi causing rice and economic crop diseases. Journal of Biopesticides, 9(1), 1-7. Jantasorn, A.,Mongon, J., Moungsrimuangdee, B.,
Oiuphisittraiwat, T. (2016). In Vitro Antifungal Activity of Soil Fungi Crude Extracts isolated from Riparian Forest against Plant Pathogenic Fungi. Journal of Biopesticides, 9(2):119-124.
Mongon, J., Jantasorn, A., Oupkaew, P., Prom-u-Thai, C.Rouached, H. (2016). The Time of Flooding Occurrence is Critical for Yield Production in Rice and Vary in a Genotype-Dependent Manner. Online Journal of Biological Sciences. 17(2): 58-65.DOI: 10.3844/ojbsci.2017.58.65
Jantasorn, A.,Mongon, J.Oiuphisittraiwat, T. (2016). In Vivo Antifungal Activity of Five Plant Extract against Chinese Kale Leaf Spot Caused by Alternaria brassicicola. Journal of Biopesticides. 10(1): 43-49.
Dethoup, T., Kaewsalong, N., Songkumorn, P. Jantasorn, A. (2018). Potential application of a marine-derived fungus, Talaromyces tratensis KUFA 0091 against rice diseases, Biological Control. 119: 1-6.https://doi.org/10.1016/j.biocontrol.2017.11.008
Komhorm, A., Thongmee, S., Thammakun, T., iuphisittraiwat, T., Jantasorn, A. ( 2021) In vivo testing of antagonistic fungi against Alternaria brassicicola causing Chinese kale black spot disease, Journal of Plant Diseases and Protection. 128: 183-189. https://doi.org/10.1007/s41348-020-00382-2
Jantasorn, A., Pongsupap, P. Oiuphisittraiwat, T.( 2021) In vitro Effect of Caesalpinia sappan and Crateva magna Extracts in Enhancing Seed Germination and Seedling Growth of KDML105 Rice Variety, Indian Journal of Agricultural Research. 55(4): 458-462. DOI: 10.18805/IJARe.A-569
Jampasri, K., Saeng-ngam, S., Larpkern, P.,Jantasorn, A. Kruatrachue, M. (2021) Phytoremediation potential of Chromolaena odorata, Impatiens patula, and Gynura pseudochina grown in cadmium-polluted soils, Journal of Phytoremediation.https://doi.org/10.1080/15226514.2021.1876626
Proceedings
การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ (International Conference)
การประชุมวิชาการระดับชาติ (National Conference)
ศศิธร โคสุวรรณ, อารมย์ จันทะสอน. (2559) การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ในการศึกษาการกระจายตัวของโรคใบไหม้ของข้าว กรณีศึกษาอำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มศว วิจัย ครั้งที่ 9 : (น.548-556 ).กรุงเทพ:สถาบันยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
อารมย์ จันทะสอน,เจนจิรา หม่องอ้น,ปนัดดา ลาภเกิน. (2559) การสำรวจโรคและแมลงศัตรูข้าวในพื้นที่ปลูกข้าวของตำบลหนองหมากฝ้าย อำเภอวัฒนานคร จังหวัดสระแก้ว. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ มศว วิจัย ครั้งที่ 9 (น.188-196)กรุงเทพ:สถาบันยุทธศาสตร์ทางปัญญาและวิจัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
หนังสือ/ตำรา
สิทธิบัตร/อนุสิทธิบัตร
โครงการวิจัย
2559 การควบคุมโรคใบจุดของคะน้าสาเหตุจากเชื้อ Alternaria brassicicola โดยชีววิธีด้วยสารสกัดจากพืชป่าชื้น
2559 การสำรวจโรคพืชในแปลงเกษตรสาธิตของวิทยาลัยโพธิวิชชาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จ.สระแก้ว
2559 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศในการศึกษาโรคไหม้ กรณีศึกษา อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว
2559 ลักษณะการป้องกันตัวของต้นไม้ ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดแก่นและสารสกัดในลำต้นของไม้พื้นเมืองที่มีค่าของประเทศไทย
2560 ประสิทธิภาพของสารออกฤทธิ์ทางชีวภาพของสารสกัดพืชในการควบคุมเชื้อรา Pyricularia grisea Sacc. สาเหตุโรคใบไหม้ของข้าว
2560-2562 การพัฒนาสารชีวภัณฑ์และสารชีวภัณฑ์จากราทะเลเพื่อควบคุมโรคพืชที่สำคัญของพืชเศรษฐกิจ
2561 การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อศึกษาการระบาดโรคใบขาวอ้อยใน อ. อรัญประเทศ จ. สระแก้ว
2561 การควบคุมโรคใบไหม้ของข้าวสาเหตุจากเชื้อ Pyricularia grisea Sacc. โดยใช้สารสกัดจากพืชป่าริมน้ำ คลองพระปรง
2561 การฟื้นฟูสภาพดินปนเปื้อนแคดเมียมด้วยพืชที่เป็นไฮเปอร์แอกคิวมูเลเตอร์
2561 การควบคุมโรคเมล็ดด่างของข้าวและเพิ่มผลผลิตของข้าวโดยราปฏิปักษ์ศักยภาพสูง Talaromyces tratensis KUFA0091
2562 ประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากพืชในการควบคุมเชื้อ Bipolaris oryzae สาเหตุโรคใบจุดสีน้ำตาลของข้าวในสภาพโรงเรือนปลูกพืชทดลอง
2563 การควบคุมโรคใบจุดของคะน้าโดยใช้ราปฏิปักษ์จากดินป่าชื้นริมห้วยในสภาพแปลงปลูก
2563 การจัดการแหล่งเรียนรู้สำหรับการสอนหลักสูตรภูมิสังคมและวัฒนธรรม วิทยาลัยโพธิวิชชาลัย บนฐานการพัฒนาที่ยั่งยืน
2563 การสร้างฐานข้อมูลหมู่บ้านด้วยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ ตำบลแม่กาษา อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก
2563 การถ่ายทอดเทคโนโลยีการใช้ชีวภัณฑ์จุลินทรีย์ปฏิปักษ์ชนิดใหม่ Talaromyces tratensis KUFA0091 เพื่อการผลิตข้าวและเมล็ดพันธุ์คุณภาพ
2564 การประยุกต์ใช้จุลินทรีย์ปฏิปักษ์จากดินป่าชื้นริมห้วยเพื่อควบคุมเชื้อ Colletotrichum spp. สาเหตุโรคแอนแทรคโนสพริกโดยชีววิธี