บทที่ 3 การวิเคราะห์ข้อมูล

จุดประสงค์

ใบกิจกรรม

การวิเคราะห์เชิงพรรณา

             ดาวน์โหลด ไฟล์คำตอบกิจกรรมที่ 6.1  (เพื่อส่งงานครู)

    ดาวน์โหลดไฟล์คำตอบกิจกรรมที่ 6.2  (เพื่อส่งงานครู)

 ดาวน์โหลดไฟล์ประกอบกิจกรรมที่ 6.1 , 6.2

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 ดาวน์โหลดไฟล์ประกอบกิจกรรมที่ 7.2

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ดาวน์โหลดไฟล์ประกอบกิจกรรมที่ 7.3

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ดาวน์โหลดไฟล์ตอบคำถาม 8.1 ชีวิตฉันคล้ายใคร

ใบความรู้ การสร้างกราฟเรดาห์

สไลด์

การวิเคราะห์เชิงพรรณา

คำอธิบาย

สไลด์ที่ 1 : การวิเคราะห์เชิงพรรณาจะเป็นการที่เราทราบว่าสภาพข้อมูลโดยทั่วไปของเราเป็นอย่างไร จะเป็นการบรรยายหรือพรรณนาข้อมูลที่เรามีอยู่ว่าเกิดอะไรขึ้นบ้าง ใช้สถิติ การหาสัดส่วน ร้อยละ การหาค่ากลางของข้อมูล

สไลด์ที่ 2 : การเลือกตั้งในสหรัฐอเมริกา ปี 2017 จะใช้กราฟเรดาห์ในการนำเสนอข้อมูล จะเห็นได้ว่ามีความดึงดูดน่าสนใจ สำหรับฮิลลาลี คลินตัน จะใช้สีชมพู จะมีความโดดเด่นด้านเศรษฐกิจ ส่วนสีฟ้าจะเป็นทรัมป์ ก็จะโดดเด่นด้านการปกป้องกันประเทศ ซึ่งจะเห็นความแตกต่างได้อย่างชัดเจน

สไลด์ที่ 3 : พนักงานในบริษัทแห่งหนึ่ง มีเงินเดือนที่แตกต่างกัน คนเงินเดือนสูงมีไม่มาก ส่วนคนเงินเดือนน้อยมีจำนวนมาก ถ้าเราต้องการหาค่ากลางของข้อมูลที่จะเป็นตัวบอกว่าโดยเฉลี่ยแล้วพนักงานในบริษัทมีเงินเดือนอยู่เท่าไร เราก็จะต้องคิดค่าเฉลี่ย (Mean) หากต้องการคิดค่ากลางของเดือนเดือนพนักงาน ก็สามารถโดยการคิดค่ามัธยฐาน (Median) คิดจากเอาข้อมูลมาเรียงลำดับไม่ว่าจากสูงไปต่ำหรือต่ำไปสูง แล้วตำแหน่งกึ่งกลางอยู่ตรงไหน ก็จะให้ค่านั้นเป็นค่ากลาง ส่วนค่าฐานนิยม (Mode) ได้จากค่าที่มีตัวเลขนั้นมากที่สุด ในที่นี้คิดค่า Mean = 5,700 Median = 3,000 Mode = 2,000 

          คำถาม ค่าไหนที่เราจะบอกได้ว่า โดยเฉลี่ยแล้ว พนักงานได้เงินเดือนเท่าไร จากตัวอย่างค่าที่ดีที่สุดคือค่า Median=3,000 และค่า Mode=2,000 แต่ถ้าเราบอกว่าบอกว่าเป็นค่า Mean=5,700 ซึ่งจะเห็นได้ว่า พนักงานมีเงินเดือนต่ำกว่า 5,700 มีเยอะมาก มันก็อาจจะเป็นตัวบอกโดยเฉลี่ยที่ไม่ดี เพราะคนได้เงินเดือนสูงกว่า 5,700 มีน้อยมาก

สไลด์ที่ 4 : ความสัมพันธ์ของข้อมูล 2 ชุด คือวัวป่าและม้าลาย แสดงให้เห็นว่าถ้าจำนวนวัวป่าเพิ่มขึ้น จำนวนม้าลายก็เพิ่มขึ้น ความสัมพันธ์ก็จะไปในทิศทางเดียวกัน

สไลด์ที่ 5 : การแปลค่าความสัมพันธ์ เมื่อเราทำเป็นแผนภาพการกระจาย ซึ่งความสัมพันธ์แบ่งออกเป็นเชิงลบกับเชิงบวก ค่าความสัมพันธ์มีค่าตั้งแต่ 0 ถึงบวก 1 เชิงลบก็ถึง -1 มีระดับน้อย ปานกลาง และมาก ถ้าไม่มีความสัมพันธ์ชุดข้อมูลก็จะกระจัดกระจายมองไม่เห็นทิศทาง ถ้าเป็นเชิงบวกข้อมูลจะเกาะกลุ่มกันจากซ้ายไปขวา แต่ถ้าเป็นเชิงลบข้อมูลจะไล่ลงมาจากซ้ายไปขวา

สไลด์ที่ 6 : เวลาเราบอกว่าข้อมูลนี้มีความสัมพันธ์ ต้องให้พึงระวังว่า ความสัมพันธ์ไม่ได้เป็นเหตุเป็นผลกัน จากข้อมูลวัวป่ากับม้าลาย เราไม่สามารถตีความได้ว่าการที่จำนวนม้าลายเพิ่มมากขึ้น มันส่งผลมาจากวัวป่าเพิ่มมากขึ้น สรุปแบบนี้อาจจะผิด ซึ่งจำนวนม้าลายเพิ่มมากขึ้นอาจมาจากสิ่งอื่น เช่น ป่าอาจจะอุดมสมบูรณ์ไม่ได้เกิดจากวัวป่า

การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา.pdf

เรียนในรูปแบบสไลด์ คลิกเลย

เลือกประเภทแผนภูมิ.pdf

เรียนในรูปแบบสไลด์ คลิกเลย

กิจกรรมกลุ่ม

            การวิเคราะห์ข้อมูล จะช่วยให้นักเรียนมีความเข้าใจลึกซึ้งเกี่ยวกับข้อมูล เช่น ความสัมพันธ์ รูปแบบ และแนวโน้ม ที่จะสามารนำไปประกอบการตัดสินใจ ตอบคำถาม หรือตอบสมมติฐานที่ตั้งไว้ จึงกล่าวได้ว่า การวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการเปลี่ยนข้อมูลให้มีคุณค่า โดยนำผลลัพธ์ที่ได้จากการวิเคราะห์มาใช้ประโยชน์

ตอนที่ 7 การวิเคราะห์ข้อมูล

ตอนที่ 8 การวิเคราะห์เชิงพรรณา

นักเรียนอ่านหนังสือ หน้า 73 - 82 แล้วศึกษาคลิปวีดีโอตอนที่ 7 - 8  /   ทำกิจกรรมที่ 6.1 ข้อมูลนี้มีอะไร + ไฟล์ประกอบ / นำส่ง  

การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงทำนาย.pdf

เรียนในรูปแบบสไลด์ คลิกเลย

ตอนที่ 9 การวิเคราะห์เชิงทำนาย

ตอนที่ 10 การทำนายเชิงตัวเลข

ตอนที่ 11 การคำนวณค่าความคลาดเคลื่อน

ตอนที่ 12 การทำนายเชิงหมวดหมู่

ตอนที่ 13 การคำนวณระยะทางหาเพื่อนบ้านใกล้ที่สุด K-NN

ตอนที่ 14 การประเมินความถูกต้องในการจำแนกข้อมูล

ชุดข้อมูลและคำอธิบาย

ชุดข้อมูลและคำอธิบาย บทที่ 3

คลิปวีดีโอ Project 14

การวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 1

การวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 2