คำประพันธ์
เนื้อเรื่องย่อ
เนื้อเรื่องย่อ
ทวีปยุโรปเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมและการเติบโตของลัทธิจักรวรรดินิยมนำไปสู่การแผ่อิทธิพลชาวตะวันตกในภูมิภาคต่างๆของโลก เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวครองราชย์ประเทศถูกคุกคามจากชาติมหาอำนาจโดยเฉพาะอังกฤษและฝรั่งเศสซึ่งกำลังขยายอิทธิพล และมีเป้าหมายที่จะยึดครองประเทศราชของไทย ประเทศไทยเกิดความขัดแย้งกับฝรั่งเศสแล้วฝรั่งเศสได้นำกองเรือรบเข้ามาและเกิดการต่อสู้กับทหารไทย ฝรั่งเศสได้ยื่นคำขาดกับไทยแต่ไทยให้คำตอบล่าช้าจึงถูกศัตรูปิดน่านน้ำและไม่สามารถทำการค้าขายได้จึงต้องอ่อนข้อและเสียดินแดนทางฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงและเสียอำนาจการปกครองในการบังคับชาวอินโดจีน ฝรั่งเศสได้ยึดครองจังหวัดจันทบุรีไว้เป็นประกันและมีแผนยึดครองเพิ่มอีก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพยายามหาพันธมิตรจากมหาอำนาจอื่นๆไว้คอยช่วยเหลือเจรจาเพื่อผ่อนปรนให้กับข้อเรียกร้องจากฝรั่งเศส เมื่อเหตุความขัดแย้งยุติลง ไทยได้จังหวัดจันทบุรีและตราดกลับมา ซึ่งทำให้เห็นว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทำให้ประเทศสยามผ่านพ้นวิกฤตต่างๆได้ด้วยความสามารถของท่าน แม้ว่าจะเสียดินแดนไปบางส่วนแต่ก็รักษาแผ่นดินส่วนใหญ่ไว้ได้และทำให้ไทยมีเอกราชมาจนถึงทุกวันนี้
ทวีปยุโรปเกิดการปฏิวัติอุตสาหกรรมและการเติบโตของลัทธิจักรวรรดินิยมนำไปสู่การแผ่อิทธิพลชาวตะวันตกในภูมิภาคต่างๆของโลก เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวครองราชย์ประเทศถูกคุกคามจากชาติมหาอำนาจโดยเฉพาะอังกฤษและฝรั่งเศสซึ่งกำลังขยายอิทธิพล และมีเป้าหมายที่จะยึดครองประเทศราชของไทย ประเทศไทยเกิดความขัดแย้งกับฝรั่งเศสแล้วฝรั่งเศสได้นำกองเรือรบเข้ามาและเกิดการต่อสู้กับทหารไทย ฝรั่งเศสได้ยื่นคำขาดกับไทยแต่ไทยให้คำตอบล่าช้าจึงถูกศัตรูปิดน่านน้ำและไม่สามารถทำการค้าขายได้จึงต้องอ่อนข้อและเสียดินแดนทางฝั่งซ้ายแม่น้ำโขงและเสียอำนาจการปกครองในการบังคับชาวอินโดจีน ฝรั่งเศสได้ยึดครองจังหวัดจันทบุรีไว้เป็นประกันและมีแผนยึดครองเพิ่มอีก พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงพยายามหาพันธมิตรจากมหาอำนาจอื่นๆไว้คอยช่วยเหลือเจรจาเพื่อผ่อนปรนให้กับข้อเรียกร้องจากฝรั่งเศส เมื่อเหตุความขัดแย้งยุติลง ไทยได้จังหวัดจันทบุรีและตราดกลับมา ซึ่งทำให้เห็นว่าพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทำให้ประเทศสยามผ่านพ้นวิกฤตต่างๆได้ด้วยความสามารถของท่าน แม้ว่าจะเสียดินแดนไปบางส่วนแต่ก็รักษาแผ่นดินส่วนใหญ่ไว้ได้และทำให้ไทยมีเอกราชมาจนถึงทุกวันนี้
โครงเรื่อง
โครงเรื่อง
ขัตติยพันธกรณีประกอบไปด้วย ๒ ส่วน คือส่วนของพระราชนิพนธ์และพระนิพนธ์ในส่วนแรกของบทพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้โคลงสี่สุภาพ ๗ บท แสดงความกังวลพระทัยที่ทรงพระประชวรเป็นเวลานาน ทำให้เป็นภาระอัน “หนักอกผู้บริรักษ์” ทั้งปวง ประกอบกับความเจ็บทั้งวรกายและพระทัยของพระองค์ ยิ่งเฉพาะในยามวิกฤตแบบนี้ แต่ทว่าเหตุการณ์บ้านเมืองยามนี้ทำให้พระองค์ทรงตระหนักดีว่าพระองค์ยังไม่สามารถเสสด็จไปยังภพเบื้องหน้าได้ตามพระทัยหมาย เพราะหน้าที่ของพระองค์คือต้องทรงปกป้องรักษาบ้านเมืองไว้ ทำให้ภาพพจน์ของโคลงออกมาในรูปแบบของการอุปลักษณ์เปรียบเทียบในส่วนที่ ๒ ถูกแต่งด้วยอินทรวิเชียรฉันท์เป็นการบรรยายความรู้สึกเบื่อหน่าย หมดกำลังพระทัยที่จะรักษาพระอาการประชวรและอาจจะไม่สามารถกลับมาทรงงานได้อย่างเต็มที่เท่าที่ควร
ขัตติยพันธกรณีประกอบไปด้วย ๒ ส่วน คือส่วนของพระราชนิพนธ์และพระนิพนธ์ในส่วนแรกของบทพระราชนิพนธ์ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงใช้โคลงสี่สุภาพ ๗ บท แสดงความกังวลพระทัยที่ทรงพระประชวรเป็นเวลานาน ทำให้เป็นภาระอัน “หนักอกผู้บริรักษ์” ทั้งปวง ประกอบกับความเจ็บทั้งวรกายและพระทัยของพระองค์ ยิ่งเฉพาะในยามวิกฤตแบบนี้ แต่ทว่าเหตุการณ์บ้านเมืองยามนี้ทำให้พระองค์ทรงตระหนักดีว่าพระองค์ยังไม่สามารถเสสด็จไปยังภพเบื้องหน้าได้ตามพระทัยหมาย เพราะหน้าที่ของพระองค์คือต้องทรงปกป้องรักษาบ้านเมืองไว้ ทำให้ภาพพจน์ของโคลงออกมาในรูปแบบของการอุปลักษณ์เปรียบเทียบในส่วนที่ ๒ ถูกแต่งด้วยอินทรวิเชียรฉันท์เป็นการบรรยายความรู้สึกเบื่อหน่าย หมดกำลังพระทัยที่จะรักษาพระอาการประชวรและอาจจะไม่สามารถกลับมาทรงงานได้อย่างเต็มที่เท่าที่ควร
ส่วนที่ ๒ คือส่วนของพระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงเริ่มต้นด้วยการถวายพระทัยโดยใช้การบรรยายให้เห็นว่าพระองค์ในฐานะที่ทรงเป็นพระบรมศานุวงศ์และเสนาบดีที่ทรงปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด ทรงตระหนักว่าพระอาการประชวรนั้นหนักเพียงใดและทรงมีความกังวง ห่วงใย และพร้อมที่จะสละเลือดเนื้อและชีวิตหากจะช่วยบรรเทาพระอาการประชวรได้ และมิใช่เพียงแต่พระองค์ผู้ทรงใกล้ชิดเท่านั้น แต่รวมถึงประชาชนทั่วไปก็รู้สึกเช่นเดียวกับพระองค์ หลังจากนั้นเป็นการถวายข้อคิดโดยการเปรียบเทียบคนไทยเป็นเสมือนลูกเรือที่กำลังสับสนต้องการคนชี้แนะ จากนั้นพระองค์ทรงกราบทูลสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวให้ทรงตระหนักในสัจธรรมที่ว่า ไม่ว่าจะกระทำการสิ่งใด ย่อมมีอุปสรรคตามมาเสมอ หากแต่ว่าทุกคนร่วมมือร่วมใจ พยายามหาคิดวิธีแก้ไข ถึงแม้เรือจะจม ทุกคนก็ยังมีภูมิใจและย่อมได้รับคำสรรเสริญในทางกลับกันการอยู่เฉยๆไม่นึกคิดที่จะทำอะไร เรือก็จมลงพร้อมกับคำตำหนิ หลังจากการถวายข้อคิดแล้ว ด้วยที่ว่าสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงงานวายชีวิตรับใช้และปฏิบัติหน้าที่อย่างสุดกำลัง บทพระนิพนธ์ส่วนนี้จึงใช้ภาพพจน์เป็นเครื่องกระตุ้นให้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเกิดพระขัตติยมานะที่จะสู้ต่อไป พระนิพนธ์จบลงด้วยการถวายพระพรให้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงหายจากอาการพระประชวร มีพระราชหฤทัยที่ผ่องแผ้ว และมีพระชนมายุยืนยาว พร้อมทั้งถวายคำปลอบประโลม คำยืนยันถึงความจงรักภักดี และคำปลุกใจให้ลุกขึ้นสู้ต่อไปเพื่อประเทศชาติและชาวไทยทุกคน
ส่วนที่ ๒ คือส่วนของพระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงเริ่มต้นด้วยการถวายพระทัยโดยใช้การบรรยายให้เห็นว่าพระองค์ในฐานะที่ทรงเป็นพระบรมศานุวงศ์และเสนาบดีที่ทรงปฏิบัติงานอย่างใกล้ชิด ทรงตระหนักว่าพระอาการประชวรนั้นหนักเพียงใดและทรงมีความกังวง ห่วงใย และพร้อมที่จะสละเลือดเนื้อและชีวิตหากจะช่วยบรรเทาพระอาการประชวรได้ และมิใช่เพียงแต่พระองค์ผู้ทรงใกล้ชิดเท่านั้น แต่รวมถึงประชาชนทั่วไปก็รู้สึกเช่นเดียวกับพระองค์ หลังจากนั้นเป็นการถวายข้อคิดโดยการเปรียบเทียบคนไทยเป็นเสมือนลูกเรือที่กำลังสับสนต้องการคนชี้แนะ จากนั้นพระองค์ทรงกราบทูลสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวให้ทรงตระหนักในสัจธรรมที่ว่า ไม่ว่าจะกระทำการสิ่งใด ย่อมมีอุปสรรคตามมาเสมอ หากแต่ว่าทุกคนร่วมมือร่วมใจ พยายามหาคิดวิธีแก้ไข ถึงแม้เรือจะจม ทุกคนก็ยังมีภูมิใจและย่อมได้รับคำสรรเสริญในทางกลับกันการอยู่เฉยๆไม่นึกคิดที่จะทำอะไร เรือก็จมลงพร้อมกับคำตำหนิ หลังจากการถวายข้อคิดแล้ว ด้วยที่ว่าสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงงานวายชีวิตรับใช้และปฏิบัติหน้าที่อย่างสุดกำลัง บทพระนิพนธ์ส่วนนี้จึงใช้ภาพพจน์เป็นเครื่องกระตุ้นให้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเกิดพระขัตติยมานะที่จะสู้ต่อไป พระนิพนธ์จบลงด้วยการถวายพระพรให้พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงหายจากอาการพระประชวร มีพระราชหฤทัยที่ผ่องแผ้ว และมีพระชนมายุยืนยาว พร้อมทั้งถวายคำปลอบประโลม คำยืนยันถึงความจงรักภักดี และคำปลุกใจให้ลุกขึ้นสู้ต่อไปเพื่อประเทศชาติและชาวไทยทุกคน
ตัวละคร
ตัวละคร
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
ฉากท้องเรื่อง
ฉากท้องเรื่อง
สถานที่ไม่ได้ถูกระบุไว้อย่างเจาะจงว่าเป็นที่ใด เพียงแค่กล่าวว่า ขัตติยพันธกรณี เป็นบทพระราชนิพนธ์ใน สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงเหตุการณ์วิกฤตการ ร.ศ. ๑๑๒
สถานที่ไม่ได้ถูกระบุไว้อย่างเจาะจงว่าเป็นที่ใด เพียงแค่กล่าวว่า ขัตติยพันธกรณี เป็นบทพระราชนิพนธ์ใน สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ช่วงเหตุการณ์วิกฤตการ ร.ศ. ๑๑๒
บทเจรจา
บทเจรจา
ในส่วนแรกเป็นการบรรยายของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่าพระองค์ท่านทรงเจ็บมานานแล้วหนักใจในฐานะเจ้าแผ่นดิน คิดอยากจะลาตาย ความเหนื่อยคงหายไปสู่โลกหน้าที่สุขกว่า
ในส่วนแรกเป็นการบรรยายของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวว่าพระองค์ท่านทรงเจ็บมานานแล้วหนักใจในฐานะเจ้าแผ่นดิน คิดอยากจะลาตาย ความเหนื่อยคงหายไปสู่โลกหน้าที่สุขกว่า
“เจ็บนานหนักอกผู้ บริรักษ์ ปวงเฮย
“เจ็บนานหนักอกผู้ บริรักษ์ ปวงเฮย
คิดใคร่ลาลาญหัก ปลดเปลื้อง
คิดใคร่ลาลาญหัก ปลดเปลื้อง
ความเหนื่อยแห่งสูจัก พลันสร่าง
ความเหนื่อยแห่งสูจัก พลันสร่าง
ตูจักสู่ภพเบื้อง หน้านั้นพลันเขษม”
ตูจักสู่ภพเบื้อง หน้านั้นพลันเขษม”
จากนั้นเป็นการเล่าว่าพระองค์ท่านมีความกังวล พระหฤทัยในอาการประชวรดังในคำประพันธ์
จากนั้นเป็นการเล่าว่าพระองค์ท่านมีความกังวล พระหฤทัยในอาการประชวรดังในคำประพันธ์
“เป็นฝีสามยอดแล้ว ยังราย ส่านอ
“เป็นฝีสามยอดแล้ว ยังราย ส่านอ
ปวดเจ็บใครจักหมาย เชื่อได้
ปวดเจ็บใครจักหมาย เชื่อได้
ใช่เป็นแต่ส่วนกาย เศียรกลัด กลุ้มแฮ
ใช่เป็นแต่ส่วนกาย เศียรกลัด กลุ้มแฮ
ใคร่ต่อเป็นจึ่งผู้ นั่นนั้นเห็นจริง”
ใคร่ต่อเป็นจึ่งผู้ นั่นนั้นเห็นจริง”
ในส่วนที่สองของบทพระนิพนธ์นั้นบทเจรจาจะเริ่มต้นด้วยการกังวลพระทัยในอาการประชวรของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวดังในคำกลอนที่ว่า
ในส่วนที่สองของบทพระนิพนธ์นั้นบทเจรจาจะเริ่มต้นด้วยการกังวลพระทัยในอาการประชวรของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวดังในคำกลอนที่ว่า
“อันพระประชวรครั้ง นี้แท้ทั้งไผทสยาม
“อันพระประชวรครั้ง นี้แท้ทั้งไผทสยาม
เหล่าข้าพระบาทความ วิตกพ้นจะอุปมา”
เหล่าข้าพระบาทความ วิตกพ้นจะอุปมา”
นอกจากนั้นบทถวายข้อคิดนับว่าเป็นส่วนสำคัญในบทพระนิพนธ์เพราะเป็นการให้ข้อคิดที่ลึกซึ้ง เนื้อความว่าไม่ว่าจะกระทำสิ่งใดก็มักจะพบพานอุปสรรคเสมอ แต่ขอเพียงแต่ไม่ย่อท้อและลุกขึ้นสู้ ปัญหานั้นก็จะมลายหายไป แต่ถ้าเกิดไม่คิดจะลุกขึ้นสู้ ก็นับว่าขี้ขลาด
นอกจากนั้นบทถวายข้อคิดนับว่าเป็นส่วนสำคัญในบทพระนิพนธ์เพราะเป็นการให้ข้อคิดที่ลึกซึ้ง เนื้อความว่าไม่ว่าจะกระทำสิ่งใดก็มักจะพบพานอุปสรรคเสมอ แต่ขอเพียงแต่ไม่ย่อท้อและลุกขึ้นสู้ ปัญหานั้นก็จะมลายหายไป แต่ถ้าเกิดไม่คิดจะลุกขึ้นสู้ ก็นับว่าขี้ขลาด
“ธรรมดามหาสมุทร มีคราวหยุดพายุผัน
“ธรรมดามหาสมุทร มีคราวหยุดพายุผัน
มีคราวสลาตัน ตั้งระลอกกระฉอกฉาน
มีคราวสลาตัน ตั้งระลอกกระฉอกฉาน
ผิวพอกำลังเรือ ก็แล่นรอดไม่ร้าวราน
ผิวพอกำลังเรือ ก็แล่นรอดไม่ร้าวราน
หากกรรมจะบันดาล ก็คงล่มทุกลำไป
หากกรรมจะบันดาล ก็คงล่มทุกลำไป
ชาวเรือก็ย่อมรู้ ฉะนี้อยู่ทุกจิตต์ใจ
ชาวเรือก็ย่อมรู้ ฉะนี้อยู่ทุกจิตต์ใจ
แต่ลอยอยู่ตราบใด ต้องจำแก้ด้วยแรงระดม
แต่ลอยอยู่ตราบใด ต้องจำแก้ด้วยแรงระดม
แก้รอดตลอดฝั่ง จะรอดทั้งจะชื่นชม
แก้รอดตลอดฝั่ง จะรอดทั้งจะชื่นชม
เหลือแก้ก็จำจม ให้ปรากฏว่าถึงกรรม
เหลือแก้ก็จำจม ให้ปรากฏว่าถึงกรรม
ผิวทอดธุระนิ่ง บ วุ่นวิ่งเยียวยาทำ
ผิวทอดธุระนิ่ง บ วุ่นวิ่งเยียวยาทำ
ที่สุดก็สูญลำ เหมือนที่แก้ไม่หวาดไหว
ที่สุดก็สูญลำ เหมือนที่แก้ไม่หวาดไหว
ผิดกันแต่ถ้าแก้ ให้เต็มแย่จึงจมไป
ผิดกันแต่ถ้าแก้ ให้เต็มแย่จึงจมไป
ใครห่อนประมาทใจ ว่าขลาดเขลาและเมาเมิน”
ใครห่อนประมาทใจ ว่าขลาดเขลาและเมาเมิน”
แก่นเรื่อง
แก่นเรื่อง
ขัตติยะพันธกรณีเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวที่มีความกังวลพระทัยมีต่อพระองค์เองและประชาชนไทย ซึ่งในบทนี้จะเด่นชัดในด้านของความรักที่พระองค์ท่านมีให้แก่ประเทศชาติและราษฎร จากนั้นต่อด้วยการถวายบทตอบของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ มีเนื้อความเก่ียวกับการให้กำลังพระทัยแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวให้ทรงลุกขึ้นสู้ต่อไป พร้อมกับการให้ข้อคิดเกี่ยวกับสัจธรรมว่าทุกอย่างย่อมมีอุปสรรคเสมอ ในตอนท้ายของบทถวายตอบเป็นการถวายพระพรและถือเป็นการแสดงออกถึงความจงรักภักดีที่มีต่อพระมหากษัตริย์และประเทศชาติ
ขัตติยะพันธกรณีเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยุ่หัวที่มีความกังวลพระทัยมีต่อพระองค์เองและประชาชนไทย ซึ่งในบทนี้จะเด่นชัดในด้านของความรักที่พระองค์ท่านมีให้แก่ประเทศชาติและราษฎร จากนั้นต่อด้วยการถวายบทตอบของสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ มีเนื้อความเก่ียวกับการให้กำลังพระทัยแด่พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวให้ทรงลุกขึ้นสู้ต่อไป พร้อมกับการให้ข้อคิดเกี่ยวกับสัจธรรมว่าทุกอย่างย่อมมีอุปสรรคเสมอ ในตอนท้ายของบทถวายตอบเป็นการถวายพระพรและถือเป็นการแสดงออกถึงความจงรักภักดีที่มีต่อพระมหากษัตริย์และประเทศชาติ
“ขอจงพระจงมา- ยุสถาวรพูน
“ขอจงพระจงมา- ยุสถาวรพูน
เพิ่มเกียรติอนุกูล สยามรัฐพิพัฒน์ผลฯ”
เพิ่มเกียรติอนุกูล สยามรัฐพิพัฒน์ผลฯ”
การใช้ภาษา
การใช้ภาษา
การสรรคำ
การสรรคำ
ในวรรณคดีเรื่องขัตติยพันธกรณีมีการใช้ภาษาบาลีหรือสันสกฤษในการประพันธ์ เเละมีการใช้การสรรคำต่างๆ จากบทพระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา ดำรงราชานุภาพทรงใช้การสรรคำเพื่อเเสดงถึงความห่วงใยที่มีต่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เช่น “เลือดเนื้อผิเจือยา ให้หายได้จะชิงถวาย” จากเนื้อความ สื่อถึงว่าเขาพร้อมที่จะสละเลือดเนื้อและ ชีวิตเพื่อให้ท่านหายประชวร เเละจากบทประพันธ์ “อันพระประชวรครั้ง นี้แท้ทั้งไผทสยาม” ได้เเสดงถึงว่าไม่ใช้เพียงพระองค์เท่านั้นที่เป็นห่วงพระทัยของพระมหากษัตริย์ เเต่ประชาชนทุกคนก็เป็นห่วงพระองค์เช่นกัน
ในวรรณคดีเรื่องขัตติยพันธกรณีมีการใช้ภาษาบาลีหรือสันสกฤษในการประพันธ์ เเละมีการใช้การสรรคำต่างๆ จากบทพระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา ดำรงราชานุภาพทรงใช้การสรรคำเพื่อเเสดงถึงความห่วงใยที่มีต่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เช่น “เลือดเนื้อผิเจือยา ให้หายได้จะชิงถวาย” จากเนื้อความ สื่อถึงว่าเขาพร้อมที่จะสละเลือดเนื้อและ ชีวิตเพื่อให้ท่านหายประชวร เเละจากบทประพันธ์ “อันพระประชวรครั้ง นี้แท้ทั้งไผทสยาม” ได้เเสดงถึงว่าไม่ใช้เพียงพระองค์เท่านั้นที่เป็นห่วงพระทัยของพระมหากษัตริย์ เเต่ประชาชนทุกคนก็เป็นห่วงพระองค์เช่นกัน
การเรียบเรียงคำ
การเรียบเรียงคำ
ขัตติยพันธกรณี เป็นบทพระนิพนธ์และพระนิพนธ์ที่ถูกแต่งขึ้นเป็นคำฉันท์ ทั้งสองพระองค์ทรงเลือกใช้ อินทรวิเชียรฉันท์โดยมิได้ทรงเคร่งครัดในการใช้คำครุ-ลหุตามแบบที่คณะฉันท์ใช้ แต่ทรงใช้ตามการออกเสียงตาม ธรรมชาติของการพูดภาษาไทยและเน้นการใช้คำที่สร้างจินตภาพและอารมณ์สะเทือนใจเป็นหลัก เช่น
ขัตติยพันธกรณี เป็นบทพระนิพนธ์และพระนิพนธ์ที่ถูกแต่งขึ้นเป็นคำฉันท์ ทั้งสองพระองค์ทรงเลือกใช้ อินทรวิเชียรฉันท์โดยมิได้ทรงเคร่งครัดในการใช้คำครุ-ลหุตามแบบที่คณะฉันท์ใช้ แต่ทรงใช้ตามการออกเสียงตาม ธรรมชาติของการพูดภาษาไทยและเน้นการใช้คำที่สร้างจินตภาพและอารมณ์สะเทือนใจเป็นหลัก เช่น
“ประสาแต่อยู่ใกล้ ทั้งรู้ใช่ว่าหนักหนา
“ประสาแต่อยู่ใกล้ ทั้งรู้ใช่ว่าหนักหนา
เลือดเนื้อผิเจือยา ให้หายได้จะชิงถวาย”
เลือดเนื้อผิเจือยา ให้หายได้จะชิงถวาย”
นอกจากนั้นยังมีการเรียบเรียงข้อความอย่างเหมาะสม เช่น เรียงข้อความที่บรรจุสาระสำคัญไว้ท้ายสุดจากบทประพันธ์
นอกจากนั้นยังมีการเรียบเรียงข้อความอย่างเหมาะสม เช่น เรียงข้อความที่บรรจุสาระสำคัญไว้ท้ายสุดจากบทประพันธ์
๑.ผิวพอกำลังเรือ ก็แล่นรอดไม่ร้าวราน
๑.ผิวพอกำลังเรือ ก็แล่นรอดไม่ร้าวราน
หากกรรมจะบันดาล ก็คงล่มทุกลำไป
หากกรรมจะบันดาล ก็คงล่มทุกลำไป
๒.ชาวเรือก็ย่อมรู้ ฉะนี้อยู่ทุกจิตใจ
๒.ชาวเรือก็ย่อมรู้ ฉะนี้อยู่ทุกจิตใจ
แต่ลอยอยู่ตราบใด ต้องจำแก้ด้วยแรงระดม
แต่ลอยอยู่ตราบใด ต้องจำแก้ด้วยแรงระดม
จะเห็นได้ว่าในบทพระพันธ์ในตอนนี้มีการนำเสนอจากเนื้อหาเล็กๆ จนไปถึงเนื้อหาที่มีความสำคัญตามลำดับเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อหาสาระได้ง่ายขึ้น
จะเห็นได้ว่าในบทพระพันธ์ในตอนนี้มีการนำเสนอจากเนื้อหาเล็กๆ จนไปถึงเนื้อหาที่มีความสำคัญตามลำดับเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจเนื้อหาสาระได้ง่ายขึ้น
การใช้โวหาร
การใช้โวหาร
ในเรื่องขัตติยพันธกรณีมีการใช้โวหารหลายประเภท เช่น อุปมาโวหาร ดังบทประพันธ์ว่า
ในเรื่องขัตติยพันธกรณีมีการใช้โวหารหลายประเภท เช่น อุปมาโวหาร ดังบทประพันธ์ว่า
“เปรียบตัวเหมือนอย่างม้า ที่เป็นพาหนยาน
“เปรียบตัวเหมือนอย่างม้า ที่เป็นพาหนยาน
ผูกเครื่องบังเหียนอาน ประจำหน้าพลับพลาชัย”
ผูกเครื่องบังเหียนอาน ประจำหน้าพลับพลาชัย”
จากบทประพันธ์ข้างต้น เป็นการเปรียบสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา ดำรงราชานุภาพเป็นเหมือนอย่างม้าที่เป็นพาหนะผูกเครื่องบังเหียนอานประจำพร้อมหน้าพลับพลา นอกจากนี้ยังได้ใช้
จากบทประพันธ์ข้างต้น เป็นการเปรียบสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา ดำรงราชานุภาพเป็นเหมือนอย่างม้าที่เป็นพาหนะผูกเครื่องบังเหียนอานประจำพร้อมหน้าพลับพลา นอกจากนี้ยังได้ใช้
อธิพจน์ ซึ่งคือ โวหารที่กล่าวเกินความจริง ดังบทประพันธ์ว่า
อธิพจน์ ซึ่งคือ โวหารที่กล่าวเกินความจริง ดังบทประพันธ์ว่า
“ประสาแต่อยู่ใกล้ ทั้งรู้ใช่ว่าหนักหนา
“ประสาแต่อยู่ใกล้ ทั้งรู้ใช่ว่าหนักหนา
เลือดเนื้อผิเจือยา ให้หายได้ชิงถวาย”
เลือดเนื้อผิเจือยา ให้หายได้ชิงถวาย”
ซึ่งหมายถึง ตามประสาของผู้ที่อยู่ชิดใกล้รู้ว่าคงไม่หนักหนาอะไร ถ้าจะเอาเลือดเนื้อของตนเอาไปถวายให้หายได้ก็จะยอมถวาย โวหารอื่นๆที่ได้ใช้คือ บุคคลวัต ซึ่งหมายถึงการกล่าวถึงสิ่งต่างๆ ที่ไม่มีชีวิต โดยให้สิ่งต่างๆเหล่านี้แสดงกิริยาอาการและความรู้สึกได้เหมือนมนุษย์ ดังบทประพันธ์ว่า
ซึ่งหมายถึง ตามประสาของผู้ที่อยู่ชิดใกล้รู้ว่าคงไม่หนักหนาอะไร ถ้าจะเอาเลือดเนื้อของตนเอาไปถวายให้หายได้ก็จะยอมถวาย โวหารอื่นๆที่ได้ใช้คือ บุคคลวัต ซึ่งหมายถึงการกล่าวถึงสิ่งต่างๆ ที่ไม่มีชีวิต โดยให้สิ่งต่างๆเหล่านี้แสดงกิริยาอาการและความรู้สึกได้เหมือนมนุษย์ ดังบทประพันธ์ว่า
“ผิวพอกำลังเรือ ก็แล่นรอดได้ไม่ร้าวราน
“ผิวพอกำลังเรือ ก็แล่นรอดได้ไม่ร้าวราน
หากกรรมจะบันดาล ก็คงล่มทุกลำไป”
หากกรรมจะบันดาล ก็คงล่มทุกลำไป”
ซึ่งหมายถึง ถ้าเรือพอมีกำลังก็จะต้านลมได้ทำให้แล่นไปได้รอดปลอดภัย แต่ถ้ามีกรรมก็จะบันดาลให้ล่มจมทุกลำไป
ซึ่งหมายถึง ถ้าเรือพอมีกำลังก็จะต้านลมได้ทำให้แล่นไปได้รอดปลอดภัย แต่ถ้ามีกรรมก็จะบันดาลให้ล่มจมทุกลำไป
คุณค่าด้านอารมณ์
คุณค่าด้านอารมณ์
๑. ทำให้รู้สึกถึงความทุกข์ของผู้ประพันธ์
๑. ทำให้รู้สึกถึงความทุกข์ของผู้ประพันธ์
๒. ทรงเปรียบตะปูดอกใหญ่เป็นเสาหลักของบ้านเมืองนั้นก็คือพระบาทของพระองค์
๒. ทรงเปรียบตะปูดอกใหญ่เป็นเสาหลักของบ้านเมืองนั้นก็คือพระบาทของพระองค์
ตะปูดอกใหญ่ตรึ้ง บาทา อยู่เฮย
ตะปูดอกใหญ่ตรึ้ง บาทา อยู่เฮย
จึง บ อาจลีลา คล่องได้
จึง บ อาจลีลา คล่องได้
เชิญผู้ที่เมตตา แก่สัตว์ ปวงแฮ
เชิญผู้ที่เมตตา แก่สัตว์ ปวงแฮ
ชักตะปู นี้ให้ ส่งข้าอัญขยม
ชักตะปู นี้ให้ ส่งข้าอัญขยม
คุณค่าด้านคุณธรรม
คุณค่าด้านคุณธรรม
แสดงให้เห็นซึ่งความเชื่อของคนไทยสมัยก่อน
แสดงให้เห็นซึ่งความเชื่อของคนไทยสมัยก่อน
ชีวิตมนุษย์นี้ เปลี่ยนแปลง จริงนอ
ชีวิตมนุษย์นี้ เปลี่ยนแปลง จริงนอ
สุขและทุกข์พลกแพลง มากครั้ง
สุขและทุกข์พลกแพลง มากครั้ง
โบราณท่านจึงแสดง เป็นเยี่ยง อย่างนา
โบราณท่านจึงแสดง เป็นเยี่ยง อย่างนา
ชั่วนับเจ็ดทีทั้ง เจ็ดข้างฝ่ายดี
ชั่วนับเจ็ดทีทั้ง เจ็ดข้างฝ่ายดี
แปลว่า ชีวิตมนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มีทั้งทุกข์และสุขสลับกันไป ตามคำโบราณที่ว่า “ชั่วเจ็ดทีดีเจ็ดหน”
แปลว่า ชีวิตมนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา มีทั้งทุกข์และสุขสลับกันไป ตามคำโบราณที่ว่า “ชั่วเจ็ดทีดีเจ็ดหน”
คุณค่าด้านสังคม
คุณค่าด้านสังคม
๑. ปลูกจิตสำนึกให้คนรักชาติ รักแผ่นดินมากขึ้น
๑. ปลูกจิตสำนึกให้คนรักชาติ รักแผ่นดินมากขึ้น
๒. ตระหนักถึงความเหนื่อยยากลำบากของบรรพบุรุษที่ปกป้องแผ่นดินด้วยชีวิต
๒. ตระหนักถึงความเหนื่อยยากลำบากของบรรพบุรุษที่ปกป้องแผ่นดินด้วยชีวิต
คุณค่าด้านอื่นๆ
คุณค่าด้านอื่นๆ
๑. ผู้อ่านสามารถเอาข้อคิดมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
๑. ผู้อ่านสามารถเอาข้อคิดมาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
๒. ตระหนักถึงคุณค่าและความทุ่มเทของพระมหากษัตริย์
๒. ตระหนักถึงคุณค่าและความทุ่มเทของพระมหากษัตริย์